การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
บทที่ 8 Power Amplifiers
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
กิจกรรมที่ 1 ข้อตกลงการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
ENCODER.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
ลักษณะงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย ในหน่วยงาน ส่วนเครื่องจักรกล สชป.1 มีดังนี้
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
Programmable Controller
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
เมนูหลัก เรื่อง วงจรไฟฟ้า สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
เอสซีอาร์ SCR.
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ไดร์เป่าผม.
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Actuator
Basic Stamp Microcontroller
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
การโปรแกรมPLC.
วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
ความปลอดภัยในการทำงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. Sequential Circuit and Application
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC
Programmable Logic Control
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า Electrical control and Programming

ตอนที่ 2 การควบคุมแบบรีเลย์

จุดประสงค์การสอน 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุม แบบรีเลย์ 2. สามารถอ่านแบบวงจรควบคุมแบบรีเลย์ 3. เขียนโปรแกรมควบคุมมอเตอร์เบื้องต้นแบบใช้ วงจรรีเลย์ได้

วงจรการควบคุมแบบรีเลย์ ระบบที่ใช้แผงวงจรรีเลย์ อาศัยรีเลย์เป็น สวิทช์ในการทำงาน โดยหลักการใช้อำนาจของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ช่วยในการตัดต่อวงจรที่ ควบคุมการทำงาน โดยการสร้างเงื่อนไขการควบคุม ไว้ล่วงหน้า

รีเลย์ (Relay)

รีเลย์ (Relay) รีเลย์ คือ สวิทช์ที่ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการตัด-ต่อวงจรซึ่งการตัดต่อวงจรส่วนใหญ่เป็นวงจรกำลังขนาดเล็ก โดยขึ้นอยู่กับ ชนิดและการทนกระแสของรีเลย์

รีเลย์ (Relay)

รีเลย์ (Relay)

คอนแทคเตอร์ (Contactor)

คอนแทคเตอร์ (Contactor

คอนแทคเตอร์ (Contactor ลักษณะของคอนแทคเตอร์คล้ายกับรีเลย์ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ทนกระแสได้มากกว่า หากคอนแทคเตอร์ชนิดทนกระแสได้สูงจะมีอุปกรณ์ดับอาร์คคอนแทคเพิ่มขึ้น

รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)

รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)

สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch) สัญลักษณ์ อุปกรณ์

สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)

โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay)

โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay) โอเวอร์โหลด รีเลย์ที่ใช้งานกันนิยมใช้ แบบไบเมลทอล โดยอาศัยหลักการทำงานโค้งงอของไบเมลทอลที่ร้อนเนื่องจากมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากกว่าค่าที่กำหนด

ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch)

ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch

ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch

Toggle Switch (สวิทช์โยก)

Toggle Switch (สวิทช์โยก) เป็นสวิทช์ที่ทำงานโดยการโยก และเกิดการล็อคหน้าสัมผัสทางกล ให้มีสถานการณ์ทำงานค้างไว้ และเมื่อต้องการเปลี่ยนสภาวะการทำงานก็ทำการโยกสวิทช์อีกครั้งหนึ่ง

อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ แบบกระแสโหลดเกิน (Overload Current) เป็นค่าของกระแสขณะ ที่มีค่าสูงกว่าค่ากระแสปกติ (Rated Current) ที่กำหนดไว้บนป้าย (Name Plate)

อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ แบบกระแสลัดวงจร (Short Current Circuit) เป็นค่ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่านในสายไปยังจุดที่เกิดการลัดวงจร อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินได้แก่ ปลั๊กฟิวส์ (Plug Fuse)

แบบควบคุมมอเตอร์ด้วยแผงวงจรรีเลย์ แบบวงจรสายเดียว แบบวงจรแสดงการทำงาน แบบวงจรแสดงงานจริง แบบวงจรประกอบการติดตั้ง

มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส

วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า

แบบวงจรสายเดียว Single line diagram

แบบวงจรแสดงการทำงาน Schematic diagram

แบบวงจรแสดงงานจริง Working diagram or wiring diagram

วงจรกำลัง มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส

ตัวอย่างวงจรการควบคุมมอเตอร์ วงจรเปิด-ปิด วงจรทำงานชั่วขณะ วงจรรักษาสภาพ วงจรหน่วงเวลา

วงจรควบคุม การทำงานเปิด-ปิด On-Off Circuit

วงจรทำงานชั่วขณะ Instantaneous Circuit

วงจรรักษาสภาพ Interlock Circuit

วงจรหน่วงเวลา Time Delay Circuit

วงจรป้องกันการทำงานพร้อมกัน (Interlock Circuit)

ตัวอย่างการใช้งาน และการเขียนโปรแกรม

วงจร Relay Normally Closed (NC) Normally Open (NO) Output ( )

EX.1 วงจรทำงานชั่วขณะ แลดเดอร์ไดอะแกรม กำหนดให้ S1 = I0.1 S2 = I0.2 K1 = Q0.1 แลดเดอร์ไดอะแกรม I0.1 I0.2 Q0.1 I . 2 I . 1 Q . 1

I1 I2 Q1 ( ) Q1 Q1 Q2 ( ) แลดเดอร์ไดอะแกรม

เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์ สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์