การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า Electrical control and Programming
ตอนที่ 2 การควบคุมแบบรีเลย์
จุดประสงค์การสอน 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุม แบบรีเลย์ 2. สามารถอ่านแบบวงจรควบคุมแบบรีเลย์ 3. เขียนโปรแกรมควบคุมมอเตอร์เบื้องต้นแบบใช้ วงจรรีเลย์ได้
วงจรการควบคุมแบบรีเลย์ ระบบที่ใช้แผงวงจรรีเลย์ อาศัยรีเลย์เป็น สวิทช์ในการทำงาน โดยหลักการใช้อำนาจของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ช่วยในการตัดต่อวงจรที่ ควบคุมการทำงาน โดยการสร้างเงื่อนไขการควบคุม ไว้ล่วงหน้า
รีเลย์ (Relay)
รีเลย์ (Relay) รีเลย์ คือ สวิทช์ที่ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการตัด-ต่อวงจรซึ่งการตัดต่อวงจรส่วนใหญ่เป็นวงจรกำลังขนาดเล็ก โดยขึ้นอยู่กับ ชนิดและการทนกระแสของรีเลย์
รีเลย์ (Relay)
รีเลย์ (Relay)
คอนแทคเตอร์ (Contactor)
คอนแทคเตอร์ (Contactor
คอนแทคเตอร์ (Contactor ลักษณะของคอนแทคเตอร์คล้ายกับรีเลย์ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ทนกระแสได้มากกว่า หากคอนแทคเตอร์ชนิดทนกระแสได้สูงจะมีอุปกรณ์ดับอาร์คคอนแทคเพิ่มขึ้น
รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)
รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)
สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch) สัญลักษณ์ อุปกรณ์
สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)
โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay)
โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay) โอเวอร์โหลด รีเลย์ที่ใช้งานกันนิยมใช้ แบบไบเมลทอล โดยอาศัยหลักการทำงานโค้งงอของไบเมลทอลที่ร้อนเนื่องจากมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากกว่าค่าที่กำหนด
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch)
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch
Toggle Switch (สวิทช์โยก)
Toggle Switch (สวิทช์โยก) เป็นสวิทช์ที่ทำงานโดยการโยก และเกิดการล็อคหน้าสัมผัสทางกล ให้มีสถานการณ์ทำงานค้างไว้ และเมื่อต้องการเปลี่ยนสภาวะการทำงานก็ทำการโยกสวิทช์อีกครั้งหนึ่ง
อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ แบบกระแสโหลดเกิน (Overload Current) เป็นค่าของกระแสขณะ ที่มีค่าสูงกว่าค่ากระแสปกติ (Rated Current) ที่กำหนดไว้บนป้าย (Name Plate)
อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ แบบกระแสลัดวงจร (Short Current Circuit) เป็นค่ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่านในสายไปยังจุดที่เกิดการลัดวงจร อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินได้แก่ ปลั๊กฟิวส์ (Plug Fuse)
แบบควบคุมมอเตอร์ด้วยแผงวงจรรีเลย์ แบบวงจรสายเดียว แบบวงจรแสดงการทำงาน แบบวงจรแสดงงานจริง แบบวงจรประกอบการติดตั้ง
มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส
วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า
แบบวงจรสายเดียว Single line diagram
แบบวงจรแสดงการทำงาน Schematic diagram
แบบวงจรแสดงงานจริง Working diagram or wiring diagram
วงจรกำลัง มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส
ตัวอย่างวงจรการควบคุมมอเตอร์ วงจรเปิด-ปิด วงจรทำงานชั่วขณะ วงจรรักษาสภาพ วงจรหน่วงเวลา
วงจรควบคุม การทำงานเปิด-ปิด On-Off Circuit
วงจรทำงานชั่วขณะ Instantaneous Circuit
วงจรรักษาสภาพ Interlock Circuit
วงจรหน่วงเวลา Time Delay Circuit
วงจรป้องกันการทำงานพร้อมกัน (Interlock Circuit)
ตัวอย่างการใช้งาน และการเขียนโปรแกรม
วงจร Relay Normally Closed (NC) Normally Open (NO) Output ( )
EX.1 วงจรทำงานชั่วขณะ แลดเดอร์ไดอะแกรม กำหนดให้ S1 = I0.1 S2 = I0.2 K1 = Q0.1 แลดเดอร์ไดอะแกรม I0.1 I0.2 Q0.1 I . 2 I . 1 Q . 1
I1 I2 Q1 ( ) Q1 Q1 Q2 ( ) แลดเดอร์ไดอะแกรม
เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์ สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์