แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
Advertisements

ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
การศึกษารายกรณี.
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
หนังสือเล่มแรก Bookstart
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การแจกแจงปกติ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพร่องทางการเรียนรู้และออทิซึม
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
เกาชีวิต ดำรงค์ วงษ์โชติปิ่นทอง.
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
YOUR LOGO Page  2 เป้าหมาย 1. เข้าใจถึงอิทธิพลของการแข่งขัน ในยุคทุนนิยมเสรี และผลกระทบต่อภาพรวมของ ประเทศและต่อองค์กร 2. รู้แนวคิด สูตร แนวทางปฎิบัติที่
การสร้างแบบเสื้อและแขน
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ.
โดยท่านพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว วชิรเมธี)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุด ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ

พัฒนาโดย Robert Goodman จิตแพทย์เด็กชาวอังกฤษ แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ พัฒนาโดย Robert Goodman จิตแพทย์เด็กชาวอังกฤษ ประกอบด้วยข้อคำถาม 25 ข้อ มีทั้งคำถามเชิงบวก และคำถามข้อที่เป็นปัญหา 5 หมวด พฤติกรรมเกเร (Conduct problems) พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) ปัญหาทางอารมณ์ (Emotional problems) ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน (Peer problems) และพฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม (Pro-social behavior) แสดงถึงด้านดีของเด็ก SDQ ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย และนำมาใช้ศึกษาในชุมชนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 โดยรองศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล และแพทย์หญิงพรรณพิมล หล่อตระกูล

คุณสมบัติของเครื่องมือ แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ คุณสมบัติของเครื่องมือ จำนวนข้อคำถามเพียง 25 ข้อ ในหนึ่งหน้ากระดาษ เพื่อความสะดวกต่อการตอบ ทั้งแบบสอบถามชุดสำหรับผู้ปกครอง (parent) ครู (teacher) เด็กนักเรียน (self-report) คำถาม 25 ข้อ ของ SDQ item ครอบคลุมปัญหา 5 หมวดของพฤติกรรม ผลรวมของค่าคะแนนใน 4 หมวดแรก บ่งบอกคะแนนรวมของปัญหา ส่วนหมวดพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม บ่งบอกถึงข้อดีของเด็ก

การศึกษาพบว่า SDQ ดีกว่า CBCL อย่างมีนัยสำคัญ ในการวัดปัญหาสมาธิสั้น แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ SDQ จากผลการศึกษาวิจัยประชากรในชุมชนประเทศอังกฤษ สำรวจเด็กอายุ 5-15 ปี จำนวน 7,984คน โดย Robert Goodman และคณะ (ค.ศ. 2000) พบว่ามี sensitivity 63.3% specificity 94.65 ค่าที่ได้จากการศึกษาในเด็กไทยก็ไม่แตกต่างกันมากนัก การศึกษาพบว่า SDQ ดีกว่า CBCL อย่างมีนัยสำคัญ ในการวัดปัญหาสมาธิสั้น ส่วนการวัดปัญหาทางอารมณ์ดีเท่าๆกับ CBCL SDQ แม้จะสั้นกว่า CBCL แต่ดีกว่าในการทำนาย clinical diagnosis ของ hyperactivity disorder

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ วิธีการใช้ The Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) เป็นแบบคัดกรองเฉพาะสำหรับเด็กอายุ 4-16 ปี ประกอบด้วยแบบประเมินพฤติกรรม 3 ชุด 1. แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (อายุ 4-16 ปี) สำหรับครู 2. แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (อายุ 4-16 ปี) สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง 3. แบบประเมินพฤติกรรมด้วยตนเอง (อายุ 11-16 ปี) สำหรับเด็กประเมินตนเอง แต่ละชุดประกอบด้วย 2 หน้า หน้าแรก เป็นลักษณะพฤติกรรมจำนวน 25 ข้อ ซึ่งมีลักษณะของพฤติกรรมด้านบวกและด้านลบ สามารถจัดกลุ่มเป็นกลุ่มพฤติกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มพฤติกรรมด้านอารมณ์ (5 ข้อ) 2. กลุ่มพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง (5 ข้อ) 3. กลุ่มพฤติกรรมเกเร (5 ข้อ) 4. กลุ่มพฤติกรรมด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน (5 ข้อ) 5. กลุ่มพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม (5 ข้อ) หน้าที่ 2 ในด้านหลังของแบบประเมิน เป็นการประเมินผลกระทบของพฤติกรรมว่ามีความเรื้อรัง ส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบข้างตัวเด็กเอง มีผลกระทบต่อสัมพันธภาพทางสังคม ชีวิตประจำวันของเด็กมากน้อยอย่างไร

ข้อแนะนำในการใช้ การประยุกต์ใช้ แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ ข้อแนะนำในการใช้ ผู้ใช้แบบประเมิน ควรรู้จักเด็ก และมีความใกล้ชิดกับเด็กมาระยะเวลาหนึ่ง ควรประเมินทั้ง 25 ข้อ ในครั้งเดียวกัน การประเมินพฤติกรรมเด็ก เป็นลักษณะพฤติกรรมในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ยกเว้นว่าใช้แบบประเมินเพื่อติดตามลักษณะพฤติกรรมของเด็ก อาจเลือกใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็กฉบับของครู พ่อแม่ หรือแบบประเมินตนเอง หรือใช้ร่วมกัน การประยุกต์ใช้ ใช้ในคลินิก สามารถใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็กเป็นการประเมินเบื้องต้น ในคลินิกที่ให้บริการด้านสุขภาพช่วยให้การประเมินเด็กทำได้รอบด้านมากขึ้น ใช้ในการประเมินความสำเร็จในการช่วยเหลือเด็กในคลินิก หรือในชั้นพิเศษ ใช้ในการศึกษาทางระบาดวิทยา แบบประเมินพฤติกรรมนี้สามารถใช้ในการวัดจุดแข็งและจุดอ่อน ของปัญหาพฤติกรรมของเด็กในชุมชนได้ ใช้ในงานวิจัย ใช้ในงานวิจัยด้านพัฒนาการเด็ก ทางคลินิก ทางสังคม และด้านการศึกษา ใช้เป็นแบบคัดกรอง สามารถใช้เป็นแบบคัดกรองในโรงเรียน ในสถานบริการสาธารณสุขเบื้องต้น

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ด้าน ด้านละ 5 ข้อ คะแนนแต่ละด้านจะอยู่ระหว่าง 0-10 คะแนน คะแนนรวม 0-40 คะแนน (รวม 4 ด้าน ยกเว้นด้านสัมพันธภาพทางสังคม) กลุ่มพฤติกรรมด้านอารมณ์ ได้แก่ข้อ 3 8 13 16 24 กลุ่มพฤติกรรมเกเร ได้แก่ข้อ 5 7 12 18 22 กลุ่มพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง ได้แก่ข้อ 2 10 15 21 25 กลุ่มพฤติกรรมด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน ได้แก่ข้อ 6 11 14 19 23 กลุ่มพฤติกรรมด้านความสัมพันธภาพทางสังคม ได้แก่ข้อ 1 4 9 17 20 การให้คะแนนแต่ละข้อ ดังนี้ ข้อ 1 2 3 4 5 6 8 9 10 12 13 15 16 17 18 19 20 22 23 24 ไม่จริง ให้ 0 คะแนน จริงบ้าง ให้ 1 คะแนน จริงแน่นอน ให้ 2 คะแนน ข้อ 7 11 14 21 25 ไม่จริง ให้ 2 คะแนน จริงแน่นอน ให้ 0 คะแนน

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ การแปลผล คะแนนรวมกลุ่มที่ 1-4 (20 ข้อ) แสดงถึงปัญหาพฤติกรรมในเด็ก (total difficulties score) กลุ่มที่ 5 เป็นจุดแข็งของเด็ก (Strength score) หน้าที่ 2 ในด้านหลังของแบบประเมิน เป็นการประเมินผลกระทบของพฤติกรรมว่ามีความเรื้อรัง ส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบข้าง ตัวเด็กเอง มีผลต่อสัมพันธภาพทางสังคม ชีวิตประจำวันของเด็ก มากน้อยแค่ไหน

แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ Norm in Thai Parent / Teacher / and self rated (2006) Domain N B Ab. P T S Total Difficulties score 0-15 0-13 16-18 14-16 19-40 17-40 Emotional problems 0-4 0-3 5 4 6-10 5-10 Conduct problems Hyperactive/Inattention 0-5 6 7-10 Peer problems Prosocial behaviour N = Normal range , B = Borderline range , Ab. = Abnormal range