การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551
ผลลัพธ์แผนเงินบำรุง ปีงบประมาณ 2551 ด้านรายรับ ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค ส. ค.51)
ผลลัพธ์แผนเงินบำรุง ปีงบประมาณ 2551 ด้านรายจ่าย ( ยกเว้นหมวดงบประมาณ ) ( ต. ค ส. ค.51)
เจ้าหนี้การค้า ณ 31 สิงหาคม 2551
การเปลี่ยนสภาพลูกหนี้สิทธิข้าราชการ เบิกคลัง IPD,OPD/ เบิกต้นสังกัด เป็นเงินสด ปีงบประมาณ 2551
ลูกหนี้ค่ารักษา ณ 31 สิงหาคม 2551
วิเคราะห์ปัจจัยต่อผลลัพธ์การจัดสรรเงิน UC- OP เครือข่ายบ้านลาด ปีงบประมาณ จำนวนเงินที่ต้องใช้จัดสรรให้หน่วยงานเรียกเก็บนอก เครือข่าย / ต่างจังหวัด ( ต่างจังหวัดจ่ายตามเรียกเก็บ นอก เครือข่ายตาม Unit cost) จ่ายมาก ขาดทุนมาก 2. จำนวนครั้งในการให้บริการของหน่วยงานในเครือข่าย ครั้ง มาก ขาดทุนมาก เนื่องจากค่าเฉลี่ยในการได้รับจัดสรร แต่ละครั้ง ร้อยละ ของ Unit cost และร้อยละ ของเงินที่ได้รับจัดสรรแต่ละงวด 3. ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการให้บริการแต่ละครั้งของโรคเรื้อรัง ค่อนข้างสูงแต่จำนวนเงินที่จัดสรรแต่ละงวดมีค่าคงที่ ส่งผล ให้เงินที่ได้รับจัดสรรในงวดนั้นขาดทุน
การบริหารประสิทธิภาพทรัพยากร การเงินการคลัง สภาพคล่องปีงบประมาณ 2551 ค่าปกติ = 1 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ = 90.91% - ตกเกณฑ์ = 9.09%
การบริหารประสิทธิภาพทรัพยากร การเงินการคลัง
ค่าปกติ = 1.5 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ = 18.18% - ตกเกณฑ์ = 81.82%
กราฟแสดงผลลัพธ์การจัดสรรเงิน UC-OP รพ. บ้านลาด ปีงบประมาณ 2551
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 10 อันดับ ( ยอดผูกพันเป็นรายไตรมาส ) ปีงบประมาณ 2551
แสดงการเปรียบเทียบแหล่งรายได้การ ดำเนินการบริการทางการแพทย์ ต. ค. 50 – มิ. ย.51
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สถานะการณ์ด้านการเงิน 1. สภาวะสถานการณ์ด้านการเงินการคลังมีค่า ระดับ 2 ( น่าจะประสบปัญหา ใน 3 เดือน ) เนื่องจาก ทุนสำรองสุทธิเป็น บวก ส่วนต่างรายรับรายจ่ายต่อเดือนเป็น ลบ ดัชนีสินทรัพย์สำรองสุทธิ น้อยกว่า 0 2. I/E = 0.98 มีค่า น้อยกว่า 1 ยังสามารถบริหารรายรับและต้องควบคุมรายจ่ายอยู่ 3. Profitability Ratio = 2.8% ( ยังต้องลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ) สภาพคล่องทางการเงิน 1. ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่อง 1.1 Cash Ratio = 0.69 ปกติ 1.2 QR = 1.10 ปกติ 1.3 CR = 1.29 ต่ำกว่าเกณฑ์ 1.4 หนี้สิน 6,224, บาท 1.5 เงินบำรุง รพ. คงเหลือ 6,337, บาท ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและบริหารจัดการด้านทรัพยากร 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ค่ารักษา UC 52 วัน, ตามจ่าย UC 31 วัน และ NON-UC เท่ากับ 56 วัน ( เกณฑ์ปกติ 90 วัน ) มี ประสิทธิภาพ 2. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า ( พัสดุทั่วไป 84 วัน, ยา / เวชภัณฑ์ 84 วัน ) การ ชำระหนี้ค่ารักษาตามจ่าย UC 67 วัน อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีประสิทธิภาพ 3. อัตราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร : รายจ่ายดำเนินงาน อยู่ในอัตราสูง (57.87) ต้องเฝ้าระวังควบคุม 4. ต้นทุนบริการและต้นทุนดำเนินการด้านการรักษาพยาบาลเกินเกณฑ์มาตรฐาน 5. ทุนสำรองสุทธิและอัตราหมุนเวียนของวัสดุ / ยาเวชภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี มีประสิทธิภาพ 6. รายรับจากการจัดสรรเงิน UC-OP ในแต่ละงวดขาดทุนสะสมต่อเนื่อง ( ต. ค.50- พ. ค.51) เป็น จำนวน 3,379, บาท ต้องเฝ้าระวังและ ควบคุมมาตรการบริหารจัดการอย่างเคร่งครัดและที่สุดต้องขอสนับสนุน CF