หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

เศรษฐกิจ พอเพียง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
คำถามทบทวนวิชา
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ตารางที่ ข้อมูลผลผลิต รายได้ ต้นทุน และ สัดส่วนรายได้ต่อการลงทุน (BCR) ในผลผลิต บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ปี
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การเจริญเติบโตของพืช
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ไทย
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์ มิติด้านสุขภาพ มิติด้านนิเวศวิทยา มิติด้านความเป็นธรรมและเสมอภาค มิติด้านการรับผิดชอบ ดูแลเอาใจใส่

วัตถุประสงค์ ลดต้นทุนการผลิต สุขภาพอนามัยที่ดีของผู้ผลิตและผู้บริโภค ฟื้นฟูระบบนิเวศน์ให้ยั่งยืน ลดการนำเข้าปุ๋ยเคมี สาสรเคมี เตรียมความพร้อมในเวทีการค้าโลก

หลักการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ “ไม่เผาตอซัง เพิ่มพลังด้วยพืชตระกูลถั่ว หว่านให้ทั่ว ด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ผลผลิตดี ชีวีปลอดภัย”

แนวทางการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 1. การเลือกพื้นที่ปลูก 2. การเลือก / การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว 3. การเตรียมดิน / วิธีการปลูก 4. การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน -การจัดการดิน - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ - การใช้อินทรีย์วัตถุทดแทนปุ๋ยเคมี

แนวทางการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ (ต่อ) 5. การควบคุมวัชพืช การป้องกันกำจัดโรค แมลงและศัตรูพืช 6. การจัดการน้ำ 7. การจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว

8. การเก็บรักษาผลผลิต 9. การแปรรูปและการบรรจุหีบห่อ 10 8. การเก็บรักษาผลผลิต 9. การแปรรูปและการบรรจุหีบห่อ 10. การขนส่งและการกระจายสินค้า

เกษตรอินทรีย์มีประโยชน์อย่างไร  เกษตรอินทรีย์มีประโยชน์อย่างไร 

ปลอดภัย (เกษตรกร ผู้บริโภค) ดินได้รับการบำรุงดีขึ้น ลดต้นทุนการผลิต ปลอดภัย (เกษตรกร ผู้บริโภค) ดินได้รับการบำรุงดีขึ้น สภาพแวดล้อมกลับมา (กุ้ง หอย ปู ปลา ฯลฯ) ผลผลิตดี ขายได้ราคาดี

เปรียบเทียบระหว่างเกษตรอินทรีย์ กับเกษตรเคมี 1. ใช้หลักการและแนวคิด การเกษตรแบบแยกส่วน 2. เน้นการผลิตแบบเชิงเดี่ยว 3. เน้นการเพิ่มผลผลิตด้วยการใช้ ปัจจัยการผลิตจากภายนอก 1. ใช้หลักการและแนวคิดการเกษตรแบบองค์รวม 2. เน้นการผลิตแบบผสมผสาน 3. เน้นใช้ปัจจัยการผลิตที่มีอยู่และ หมุนเวียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

เปรียบเทียบระหว่างเกษตรอินทรีย์ กับเกษตรเคมี 4. ใช้พันธุ์จากการผสมและคัดเลือก โดยหลักการทางพันธุศาสตร์ เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง 5. ใช้เครื่องทุ่นแรง จากพลังงานของ น้ำมันเชื้อเพลิง 6. มีเป้าหมายเพื่อผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจ 4. ใช้พันธุ์ที่คัดเลือกให้เหมาะสมกับ สภาพท้องถิ่น 5. ใช้แรงงานคน สัตว์ และเครื่อง ทุ่นแรงขนาดเล็ก 6. มีเป้าหมายการผลิตเพื่อความ ยั่งยืนในระยะยาว

กระบวนการดำเนินการปรับเปลี่ยน เกษตรกรรมเชิงเดี่ยว หรือเกษตรเคมี (Chemical Agriculture)   เกษตรทฤษฎีใหม่หรือเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming) เกษตรปลอดสารพิษ (Pesticide Free Agriculture) - ข้าวให้ใช้ปุ๋ยเคมีได้ไม่เกิน 20 กก./ไร่ แต่ไม่ให้ใช้สารเคมีป้องกัน และกำจัดศัตรูพืช , วัชพืช และฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต - ผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆให้มีสารเคมีตกค้างอยู่ไม่เกินมาตรฐาน ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 163 ปี พ.ศ. 2538 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง ปรับเปลี่ยน ปรับเปลี่ยน

เกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) ปรับเปลี่ยน เกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) พัฒนา มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศ พัฒนา มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ สากลและมาตรฐานต่างประเทศ จัดตั้งองค์กรเครือข่าย ระบบสหกรณ์  (Co-Operative)