การสนับสนุน (โครงการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
โครงการชลประทานหนองคาย
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ผลการประเมินแผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 2
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
รองปลัดกระทรวงพลังงาน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากการผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน
RDF/ MSW Industry for Thailand
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
บีโอไอ หรือ สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน เป็นหน่วยงานราชการ กระทรวง อุตสาหกรรม “ บีโอ ไอ ” บริหารงานในรูปแบบคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนมีนายกรัฐมนตรีเป็น.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสนับสนุน (โครงการ) โครงการส่งเสริมการลงทุนประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน (BOI) ภายใต้ความร่วมมือกับ พพ. โครงการ จำนวนโครงการที่ได้รับ การสนับสนุน (โครงการ) การส่งเสริมการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ประหยัดพลังงานหรืออุปกรณ์ซึ่งใช้พลังงานทดแทน ส.9/2547,ส.10/2547,ส.4/2548 14 การส่งเสริมการลงทุนในกิจการด้านจัดการพลังงาน (ESCO) ส.9/2547 18 การยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรที่ใช้เพื่อการประหยัดพลังงาน 5/2548 10 รวม 42 เกิดผลประหยัด 2,387 ล้านบาท/ปี เกิดการลงทุน 8,514 ล้านบาท

จัดแบ่งตามจำนวนโครงการ โครงการส่งเสริมการลงทุนประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน (BOI) ภายใต้ความร่วมมือกับ พพ. จัดแบ่งตามจำนวนโครงการ

การแบ่งเขตส่งเสริมการลงทุน แบ่งเขตการลงทุนออกเป็น 3 เขต ปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดยใช้รายได้และสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน ของแต่ละจังหวัดเป็นเกณฑ์ เขต 1 : 6 จังหวัด ในนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรกึ่งหนึ่ง ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 3 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 1 ปี นอกนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรกึ่งหนึ่ง ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 1 ปี

การแบ่งเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 2 : 12 จังหวัด ในนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักร ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 7 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 1 ปี นอกนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรกึ่งหนึ่ง ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 3 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 1 ปี

การแบ่งเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 3 : 36 จังหวัด ในนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักร ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 5 ปี ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิ ที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติเป็นระยะเวลา 5 ปี หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าเป็นระยะเวลา 10 ปี หักค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกจากกำไรสุทธิร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุน นอกนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักร ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 5 ปี หักค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกจากกำไรสุทธิร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุน

การแบ่งเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 3 : 22 จังหวัด (รายได้ต่ำ) ในนิคม ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักร ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบ 5 ปี ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิ ที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติเป็นระยะเวลา 5 ปี หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าเป็นระยะเวลา 10 ปี หักค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกจากกำไรสุทธิร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุน

ภาพรวมมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพ จัดแบ่งตามจำนวนโครงการ

ภาพรวมมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพ จัดแบ่งตามขนาดการลงทุน 2.4% 4% 0.2% 0.4% 0.2% 0.4%

มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพ แบ่งตามเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 1 จัดแบ่งตามจำนวนโครงการ % เขต 2 เขต 3

จัดแบ่งตามจำนวนโครงการ เขต 1 เปลี่ยนเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง ร้อยละ 87 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร ร้อยละ 50 หม้อไอน้ำ ร้อยละ 29 เขต 2 เปลี่ยนเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง ร้อยละ 57 ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ร้อยละ 29 เขต 3 เปลี่ยน/อุปกรณ์/เชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ร้อยละ 49 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร ร้อยละ 34 ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ร้อยละ 25

มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพ แบ่งตามเขตส่งเสริมการลงทุน จัดแบ่งตามขนาดการลงทุน เขต 3 % เขต 1 เขต 2

จัดแบ่งตามขนาดการลงทุน เขต 1 เปลี่ยนเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง ร้อยละ 30.5 เปลี่ยน/อุปกรณ์/เชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ร้อยละ 25.2 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ร้อยละ 15.1 เขต 2 เปลี่ยนเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง ร้อยละ 26.1 เปลี่ยน/อุปกรณ์/เชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ร้อยละ 23.1 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ร้อยละ 19.8 เขต 3 เปลี่ยน/อุปกรณ์/เชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ร้อยละ 65.1 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ร้อยละ 19.7 หม้อไอน้ำ ร้อยละ 5.9

ภาพรวมกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ

ภาพรวมกลุ่มอาคารที่มีศักยภาพ

การนำเสนอ ประเภท หน่วย Existing ก.ย. 52 เป้าหมาย ปี 54 ปี 65 เป้าหมายระยะสั้น เป้าหมายระยะยาว พลังงานธรรมชาติ 1. พลังงานลม (Wind) MW 5.13 115 800 109.87 794.87 2. พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar) 2.1 ผลิตไฟฟ้า 37.6 55 500 17.4 462.4 2.2 ผลิตน้ำร้อน ktoe 0.5 5 38 4.5 37.5 3. พลังน้ำ (Hydro) 67 165 325 98 258 พลังงานชีวภาพ 4. ชีวมวล (Bio-mass) 4.1 ผลิตไฟฟ้า 1,644 2,800 3,700 1,156 2,056 4.2 ผลิตความร้อน Ktoe 3,071 3,660 6,760 589 3,689 5. ก๊าซชีวภาพ (Bio-gas) 5.1 ผลิตไฟฟ้า 79.6 60 120 +19.6 40.4 5.2 ผลิตความร้อน 201 470 600 269 399 6. ขยะ (Municipal Solid Waste-MSW) 6.1 ผลิตไฟฟ้า 5.6 78 160 72.4 154.4 6.2 ผลิตความร้อน 1.09 15 35 13.91 33.91 เชื้อเพลิงชีวภาพ 7. เอทานอล (Ethanol) ลล/ว 1.2 3.0 9 1.8 7.8 8. ไบโอดีเซล (Bio-Diesel 1.5 รวมไฟฟ้า 1,839 3,273 5,605 1473.27 3,766.07 รวมความร้อน 3,274 4,150 7,433 876.41 4,159.41

พลังงานลม Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน เป้าหมาย ไฟฟ้า 109.87 MW Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน ผู้ประกอบการสามารขอใช้พื้นที่ สปก. หรือพื้นที่อ่อนไหว เช่นป่าสงวน และอุทยานได้ ตามแนวทางที่รัฐกำหนด กฟผ. ขยาย substation เพื่อแก้ปัญหาคอขวดของระบบส่ง เชิญธนาคารต่างๆ เยี่ยมชมต้นแบบที่ประสบความสำเร็จของทาง พพ. เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการปล่อยกู้ให้กับสถานประกอบการ เชิญ อปท./ชุมชน ที่สนใจลงทุนในกังหันลมขนาดเล็ก เยี่ยมชมต้นแบบที่ประสบความสำเร็จของทาง พพ. ออกมาตรการส่งเสริมผู้ผลิตอุปกรณ์ภายในประเทศ

พลังงานแสงอาทิตย์ Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน เป้าหมาย ไฟฟ้า 17.4 MW ความร้อน 4.5 ktoe Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน มาตรการส่งเสริม Roof-Top PV ในระดับครัวเรือน การศึกษา adder ที่เหมาะสม จัดตั้งระบบกลั่นกรองโครงการที่ยื่นขอ Adder ผ่านระเบียน VSPP ช่วยผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุน/เงินกู้ เช่น ส่งเสริมการลงทุนจาก ESCO fund จัดทำมาตรฐานอุปกรณ์ (MEPs - HEPs) และติดฉลาก

พลังงานน้ำ Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน เป้าหมาย ไฟฟ้า 98 MW Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน สามารถขออนุญาตเข้าใช้พื้นที่อ่อนไหว เช่น ป่าสงวน หรืออุทยานได้ โครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กได้รับการยกเว้นไม่ต้องเข้า EIA เปิดให้ อปท. มีส่วนร่วมในการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดหมู่บ้าน

ชีวมวล Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน เป้าหมาย ไฟฟ้า 1,156 MW ความร้อน 589 ktoe Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ให้ความรู้ และข้อมูลที่ถูกต้อง ลดกระแสต่อต้านจากชุมชน เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถลงทุนได้ตามแผน กฟภ./กฟผ. ขยายกำลังการรับซื้อไฟฟ้า ช่วยให้ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุน/เงินกู้ เช่น ขยายผลโครงการเงินทุนหมุนเวียน และ ESCO fund ลดขั้นตอนการขอใบอนุญาตจากภาครัฐ

เป้าหมาย ความร้อน 269 ktoe ก๊าซชีวภาพ เป้าหมาย ความร้อน 269 ktoe Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน ผลักดันให้ กฟภ. ขยายขนาดกำลังรับซื้อไฟฟ้า ช่วยให้ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุน/เงินกู้ เช่น ขยายผลโครงการเงินทุนหมุนเวียน และ ESCO fund ประชาสัมพันธ์โครงการที่ประสบความสำเร็จเพื่อกระตุ้นความสนใจแก่ผู้ลงทุน พัฒนาระบบ Programatic CDM รองรับการขยายผลโครงการก๊าซชีวภาพ

ขยะ Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน ลดขั้นตอนการขอใบอนุญาต เป้าหมาย ไฟฟ้า 72.4 MW ความร้อน 13.91 ktoe Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน ลดขั้นตอนการขอใบอนุญาต ช่วยให้ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุน/เงินกู้ เช่น ขยายผลโครงการเงินทุนหมุนเวียน และ ESCO fund ประชาสัมพันธ์โครงการที่ประสบความสำเร็จเพื่อกระตุ้นความสนใจแก่ผู้ลงทุน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ให้ความรู้ และข้อมูลที่ถูกต้อง ลดกระแสต่อต้านจากชุมชน เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถลงทุนได้ตามแผน แก้ไขปัญหาข้อจำกัดที่เกิดขึ้นจาก พรบ. ร่วมทุน

เป้าหมาย ผลิตเพิ่ม 1.8 ลล./วัน เอทานอล เป้าหมาย ผลิตเพิ่ม 1.8 ลล./วัน Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน สร้างความเชื่อมั่นการใช้แก๊สโซฮอล E20 และ E85 เพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังจาก 3.5 เป็น 4.5 ตัน/ไร่/ปี และอ้อยจาก 11.8 เป็น 15.0 ตัน/ไร่/ปี ส่งเสริมให้โรงงานลดต้นทุนหรือสร้างมูลค่าจากของเสียจากการผลิตเอทานอล พิจารณาเพิ่มส่วนต่างราคาขายและค่าการตลาดน้ำมัน E20 และ E85 เพิ่มจำนวนสถานีบริการ E20 และ E85 มีเจ้าภาพบริหารจัดการ Demand-Supply เพื่อสร้างสมดุล โดยใช้กลไกราคาและเปิดให้มีการส่งออกที่สะดวกมากขึ้น

ไบโอดีเซล Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน เป้าหมาย ผลิตเพิ่ม 1.5 ลล/วัน Action Plan ด้านส่งเสริมการลงทุน สนับสนุนให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูก (ปัจจุบัน 4 ล้านไร่) เพิ่มขึ้น 0.5 ล้านไร่/ปี และมีพันธุ์ปาล์มที่ดีขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้มากขึ้น ปรับราคาการตลาด B5 ให้สูงกว่า B2 พิจารณาขยับ B2 เป็น B3 และประกาศบังคับใช้ B5 ทั่วประเทศในที่สุด มาตรการส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลในรูปแบบต่างๆ เช่น การใช้ไบโอดีเซล >B20 ในเรือประมง การใช้ไบโอดีเซล B10 ในรถยนต์ การส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลในอุตสาหกรรม โอเลโอเคมี