วัยรุ่นหญิงดื่มเพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าในเวลา 7 ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
นโยบายด้านบริหาร.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัยรุ่นหญิงดื่มเพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าในเวลา 7 ปี คนไทยบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ถึง 16.2 ล้านคน หรือ คิดเป็นร้อยละ 32.7 (1:3) เยาวชนอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 46.9 เริ่ม ลองดื่มสุราแล้ว ร้อยละ 76.4 ของผู้ดื่มสุรา เริ่มดื่มก่อน อายุ 24 ปี เยาวชนดื่มเป็นอันดับที่ 2 รองจากวัยทำงาน วัยรุ่นหญิงดื่มเพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าในเวลา 7 ปี

(4.4 ลิตรเป็น 39.4 ลิตรต่อคนต่อปี) คนไทยร้อยละ 32.7 ดื่ม แอลกอฮอล์~4000ล้านลิตร มูลค่า ~ ๒ แสนล้านบาท (~๑๑%งบประมาณไทย ปี๒๕๕๒) แนวโน้มคนไทยจะดื่มน้ำเมา เพิ่มขึ้น~ 1 เท่า ในทุก 4 ปี ปี 2532 - 2546 (14 ปี) ปริมาณการดื่มเบียร์เพิ่มขึ้น 8 เท่า @ ๑๐ปีที่ผ่านมา เยาวชนดื่มประจำ เพิ่ม ๗๐% (4.4 ลิตรเป็น 39.4 ลิตรต่อคนต่อปี)

เก่งกว่าใครในทางเมา ปรับเป็นปริมาณแอลกอฮอลล์บริสุทธิ์โดยประมาณ เบียร์ ไวน์ และสุรากลั่นมี แอลกอฮอลล์บริสุทธิ์เท่ากับ 4.5%, 14% และ 42% ตามลำดับ จากฐานข้อมูล WHO-alcohol consumption database

สร้างการรับรู้ อยากลอง สร้างพฤติกรรมการดื่ม งบโฆษณากว่า 2,500 ล้านบาท / ปี สร้างการรับรู้ อยากลอง สร้างพฤติกรรมการดื่ม

เพื่อเป็นการตอบแทนผู้สนับสนุน (ABAC poll ) การให้ความสนับสนุนจากเบียร์ช้าง เป็นผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการ ในการถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เพื่อเป็นการตอบแทนผู้สนับสนุน (ABAC poll ) ที่ การให้ความสนับสนุนผลิตภัณฑ์เบียร์ช้าง เพื่อเป็นการตอบแทน ค่าร้อยละจำแนกตามช่วงอายุ ภาพ รวม 13- 17 ปี 18- 24 ปี 25- 39 ปี 40- 49 ปี 50- 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป 1 ควรสนับสนุน 71.3 80.5 79.3 71.4 72.3 64.3 51.7 2 ไม่ควรสนับสนุน 7.9 6.2 5.9 6.7 9.1 12.5 9.3 3 ไม่มีความเห็น 20.8 13.3 14.8 21.9 18.6 23.2 39.0

กลยุทธ์สำคัญ ขายความเป็นวัยรุ่น ความทันสมัย

น้ำเมาเป็นสิ่งเสพติด ที่ทำลายสุขภาพ มากกว่า สิ่งเสพติดผิดกฎหมาย สาเหตุของโรคต่างๆกว่า ๖๐โรค(WHO) เป็น สาเหตุการตายของประชากรโลกถึงกว่า 2.3 ล้านคนต่อปี ฆ่าคนไทย ๒.๖หมื่นคน/ปี หรือ ชั่วโมงละ 3 คน และทำลายทุกมิติของสังคมไทย สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง?? ฯลฯ

อุบัติเหตุทางถนนมีคนตายปีละ ???คน/ปี ๑๔,๐๐๐ -๑๕,๐๐๐ คน/ปี (เหยื่อคนดื่มแล้วขับ~ ๕๐%) บาดเจ็บอีกประมาณ ล้านคน พิการนับแสนคน(เปลี่ยนพลังเป็นภาระ) ใครรับผิดชอบ?? ไม่ใช่ทุกคน โชคดีที่ตาย 15

ครอบครัวที่มีผู้ดื่มน้ำเมา ความรุนแรงมากกว่า ครอบครัวที่ไม่ดื่มถึง 3 ครอบครัวที่มีผู้ดื่มน้ำเมา ความรุนแรงมากกว่า ครอบครัวที่ไม่ดื่มถึง 3.48 เท่า (ร.พ. รามาธิบดี /มูลนิธิเพื่อนหญิง) ข่าวร้ายในหน้าหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์ ปีละ หลายร้อยข่าว แม้เรื่องที่มนุษย์ปกติทำ ไม่ได้ เช่น พ่อข่มขืนลูก ลูกข่มขืนแม่ ฯลฯ ความเลวร้ายทุกเรื่องเกิดได้ เพราะ น้ำเมา =น้ำผลาญสติ (บาปใหญ่ เพราะ สติ หรือความไม่ประมาท เป็นบุญใหญ่)

ค่าน้ำเมา ปีละประมาณ ๒แสนล้านบาท จนเครียดหยุดเหล้า ค่าน้ำเมา ปีละประมาณ ๒แสนล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากผู้มีรายได้น้อย ทำให้ “รวยกระจุก จนกระจาย” ผิดหลัก เศรษฐศาสตร์ ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ รักษาพยาบาล แรงงานด้อยประสิทธิภาพ ตายก่อนวัยอัน ควร ฯลฯ อีกประมาณ ๒ แสนล้าน(>ค่าสร้าง สุวรรณภูมิ /คนไทยร่วมกันจ่าย) (HITAP กระทรวง สาธารณสุข )

วัฒนธรรม = เจริญ พัฒนา น้ำเมา = อบายมุข = ปากทางแห่งความ เสื่อม หัวหน้านรก (หายนธรรม) งานวัฒนธรรมระดับชาติ และท้องถิ่น แม้งานบุญ และศีลธรรมอันดีงาม กำลังถูกทำลายไป พร้อมๆกับการ ท่องเที่ยวไทย

วัฒนธรรมประเพณี??

เยาวชน ร้อยละ ๔๒. ๖ กระทำผิดหลังจากดื่มน้ำเมาใน ๕ ชม เยาวชน ร้อยละ ๔๒.๖ กระทำผิดหลังจากดื่มน้ำเมาใน ๕ ชม. และทำผิดรุนแรงกว่าไม่ดื่ม (งานวิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กฯ) อัตราเพิ่มสูงสุดของผู้ติดเชื้อ HIV. คือ เยาวชน (พระ อาจารย์อลงกต ให้ข้อมูลกรรมาธิการฯ ว่า ๗๐-๘๐%ของคนที่ ไปอยู่วัดพระบาทน้ำพุ เพราะน้ำเมา) จำนวนเยาวชนท้องก่อนวัยอันควร ทำแท้ง เพิ่มจำนวนมาก ขึ้นๆ (ดร.อมรวิทย์ Child Watch) เริ่มดื่มอายุน้อยลง เสพติด สมองเสื่อม

สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา (ศ.นพ.ประเวศ วะสี) ยุทธศาสตร์ไตรพลัง การสร้าง/จัดการความรู้ (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา) การเคลื่อนไหวสังคม (เครือข่ายองค์กรงดเหล้า) การเชื่อมโยงกับนโยบาย (กระทรวงสาธารณสุข) 24

แรงงาน ศูนย์พัฒนาคุณธรรม เครือข่าย พระสงฆ์ เครือข่าย หมออนามัย มูลนิธิ สถานประกอบการรณรงค์ป้องกัน อุบัติภัยในการเดินทางกลับ ภูมิลำเนากว่า 500 แห่งทั่วประเทศ จัดหน่วยเฝ้าระวัง 30 เส้นทางทั่วประเทศ ศูนย์พัฒนาคุณธรรม แรงงาน เครือข่าย พระสงฆ์ ประสานงานชุมชนป้องกันการเกิดอุบัติเหตุถนนสายรอง 75 แห่งทั่วประเทศ เครือข่าย หมออนามัย พระธุดงค์ เทศนาเรื่องการเลิกเหล้า รณรงค์กลุ่มผู้ชายเลิกเหล้า “เลิกเหล้า...ยุติความรุนแรง” มูลนิธิ เพื่อนหญิง เครือข่ายละคร DDD. วัยมันส์รู้ทันAlcohol สร้างกระแสนักดื่มหน้าใหม่ในมหาวิทยาลัย ภายใต้ concept “สนุกได้ไม่มีแอลกอฮอล์” รณรงค์สร้างกระแสในมหาวิทยาลัย 10 แห่ง

ต้านการโฆษณา สู่ พรบ.คุมน้ำเมา

๔๓๑วัน ของการขับเคลื่อนภาคประชาชน นับจากวันที่ รมว ๔๓๑วัน ของการขับเคลื่อนภาคประชาชน นับจากวันที่ รมว.สาธารณสุข ประกาศเดินหน้า พ.ร.บ.คุมน้ำเมาจนถึงวันที่ สนช. ผ่านร่าง พ.ร.บ.ฯ วาระ ๓ เป็นกฏหมาย

โจทย์ในปัจจุบัน ?? your text ป้องกันไม่ให้เยาวชนเป็น “เหยื่อ” ธุรกิจน้ำเมา....ได้อย่างไร ? สนับสนุนเยาวชน ให้เปลี่ยนตัวเองจาก “เหยื่อ” เป็นผู้กระทำ นัก รณรงค์ นักรู้เท่าทัน นักเฝ้าระวัง....ได้อย่างไร ? your text

ขอบคุณครับ www.stopdrink.com (เครือข่ายองค์กรงดเหล้า) www.cas.or.th (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา) ขอบคุณครับ