การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Getting Started with e-Learning
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
4. Research tool and quality testing
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การเขียนแผนการสอน ด้านทฤษฎี 13. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ระบบการจัดการข้อร้องเรียนในห้องสมุดComplaints Management System in Library ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
Content Management System with Joomla
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
การจัดการความรู้ KMUTNB
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
LOGO ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Open Source.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ http://www.prachyanun.com prachyanunn@kmutnb.ac.th

ทำไม ??? ต้องวิเคราะห์ข้อสอบ เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อสอบที่เหมาะสมจะนำไปวัดและประเมินผลการเรียน เพื่อให้ได้ข้อสอบที่สามารถจำแนกผู้เรียน เพื่อให้ได้ข้อสอบที่ตรงวัตถุประสงค์

ข้อสอบปรนัย ข้อสอบปรนัยสามารถแบ่งแยกย่อยได้แก่ แบบตอบสั้นๆ แบบเติมคำ แบบจับคู่ แบบถูก-ผิด แบบเลือกตอบ

การสร้างข้อสอบ ศึกษาเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมตามหลักสูตร ออกข้อสอบตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัด นำร่างแบบทดสอบมาตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ทำการปรับปรุงแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ นำแบบทดสอบที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข ไปทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบถึงค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ข้อสอบกับตารางวิเคราะห์หลักสูตร

แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด) แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์

คุณภาพของแบบทดสอบ ความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Validity) ความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability) ความยาก (Difficulty) อำนาจจำแนก (Discrimination)

IOC: Index of consistency

ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ IOC เทคนิค 25 % กลุ่มคะแนนสูง 25 % กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด การหาค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 การหาค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป การหาค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ การหาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ P = ระดับความยากง่ายของแบบทดสอบ D = ค่าอำนาจจำแนก RU = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มเก่ง RL = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มต่ำ N = จำนวนคนทั้งหมด NU = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มเก่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ

ความยากง่าย

อำนาจจำแนก

ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบ   ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 จำนวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก 20 22 9 13 15 12 จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ตอบถูก 10 17 8 ระดับความยาก   0.68 0.50 0.59 0.41 0.45 อำนาจจำแนก 1.00 -0.36 0.36 0.00 0.18

ค่าความเชื่อมั่น (KR-20) ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability index) n S2- pi(1-pi) KR-20 = n i=1 n-1 S2

การเลือกข้อสอบที่วิเคราะห์แล้ว IOC ตั้งแต่ 0.8 ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

ตรวจสอบผลการวิเคราะห์ มีความบกพร่องที่ตัวข้อสอบเอง เช่น คำถามไม่ ชัดเจน ออกข้อสอบไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ เช่น ถามเรื่องที่ไม่สำคัญ หรือตัวเลขที่ไม่ จำเป็นต้องจำ มีความบกพร่องที่การเรียนการสอน ไม่เน้นเรื่องที่สำคัญและต้องรู้

โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ EVANA B-Index Simple Item Analysis TAP test Analysis SPSS ฯลฯ

คำถาม ????

วิทยากร