เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
Measles Elimination, Thailand
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ความเป็นมาของโครงการนำร่องวัคซีน JE ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ SA
ห้องปฏิบัติการอ้างอิงในการตรวจวินิจฉัยโรคหัด ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (WHO Measles RRL in SEAR) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
โครงการกำจัด โรคหัด Started. DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายใน ประเทศไทย ( พ. ศ *) D5 G2.
คปสอ.เมืองปาน.
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 15 ตุลาคม 2555.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด ศวก. เชียงราย ศวก. เชียงใหม่ ศวก. พิษณุโลก ศวก. นครสวรรค์ ศวก. อุดรธานี ศวก ขอนแก่น ศวก นครราชสีมา ศวก. อุบลราชธานี ศวก. ชลบุรี ศวก. สุมทรสงคราม ศวก. สงขลา ศวก. ตรัง ศวก. ภูเก็ต ศวก. สุราษฏร์ธานี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เมื่อท่านเก็บตัวอย่างส่งตรวจมาแล้ว ท่านสามารถส่งได้ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 14แห่งของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ซึ่งกระจายอยู่ในทุกภูมิภาค

Training for Regional Medical Science Center 17-18 March 2011

เว็ปสำหรับการบันทึกข้อมูล : www.boe.moph.go.th คลิ๊ก

ผลการดำเนินงาน จำนวนตัวอย่างที่ห้องปฏิบัติการได้รับตั้งแต่เริ่มโครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึง 6 กรกฎาคม 2555 จำนวนตัวอย่างน้ำเหลืองที่ส่งตรวจ 1,437 ตัวอย่าง Measles IgM Positive 775 ตัวอย่าง (54%) Rubella IgM Positive 87 ตัวอย่าง (6%) จำนวนตัวอย่างส่งตรวจหา Genotype 134 ตัวอย่าง Genotype D9 = 11 ตัวอย่าง Genotype D8 = 20 ตัวอย่าง

ปัญหา ไม่มีการส่งฟอร์ม Me1 แนบมากับตัวอย่างที่ส่งมายังห้องปฏิบัติการ เนื่องจากบางหน่วยงานมีความเข้าใจผิดว่า ให้บันทึกข้อมูลผู้ป่วยในระบบฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด และส่งเพียงตัวอย่างเท่านั้นมายังห้องปฏิบัติการ การส่งต่อตัวอย่างล่าช้า พบตัวอย่างที่เก็บ ไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 39.69 จำนวนตัวอย่างน้ำเหลืองที่ส่งตรวจ MV IgM เพิ่มมากขึ้น : สงสัยหัดเยอรมัน ส่งตรวจหัด ค่าใช้จ่ายในการตรวจหาสายพันธุ์ (Genotype) มีราคาสูง ฟรี

Measles Genotype แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการรองรับกับเป้าหมายของโครงการกำจัดหัดอย่างไร

การหาสายพันธุ์ไวรัสหัด เปรียบเทียบกับสายพันธุ์อ้างอิง Measles genome NH- Nucleoprotein gene -COOH 450 bp เปรียบเทียบกับสายพันธุ์อ้างอิง

between the various genotype; 8 clades ( A-H ) STANDARDIZATION OF THE NOMENCLATURE FOR DESCRIBING THE GENETIC CHARACTERISTICS OF WILD-TYPE MEASLES VIRUS First meeting : at WHO in Geneva ,1998 (2541) Clade : are used to indicate the genetic relationship between the various genotype; 8 clades ( A-H ) Genotype : are the operational taxonomic unit; 15 genotypes The 4th meeting : in 2005 (2548) 23 genotypes @ 2012 24 genotypes; Genotype D11

STANDARDIZATION OF THE NOMENCLATURE FOR DESCRIBING THE GENETIC CHARACTERISTICS OF WILD-TYPE MEASLES VIRUS Montreal.CAN/89-D4 Victoria.AUS/12.99-D9 Palau.BLA/93-D5 Bangkok.THA/93/1-D5 Illinois.USA/89/1-Chicago-1-D3 Mancheter.UNK/30.94-D8 MVi/Menglian.Yunnan.CHN/47.09-D11 Victoria.AUS/16.85-D7 Illinois.USA/50.99-D7 Bristol.UNK/74-MVP-D1 New Jersey.USA/94/1-D6 Johannesburg.SOA/88/1-D2 Kampala.UGA/51.00/1-D10 MVs/Madrid.SPA/94-SSPE-F Maryland.USA/77-JM-C2 Erlangen.DEU/90-WTF-C2 Tokyo.JPN/84/K-C1 Goettingen.DEU/71-Braxator-E Edmonston-wt.USA/54-A Libreville.GAB/84-R96-B2 Yaounde.CAE/12.83-Y-14-B1 New York.USA/94-B3 Ibadan.NIE/97/1-B3 Hunan.CHN/93.7-H1 Beijing.CHN/94.1-H2 Berkeley.USA/83-G1 Amsterdam.NET/49.97-G2 Gresik.INO/18.02-G3 0.01 A B2 C1 C2 D2 D3 D5 D4 D6 H1 E F D10 D1 D7 D8 D9 B1 B3 H2 G1 G2 D11 G3

Distribution of measles genotypes, 2011. Data as of 19 June 2012 Viruses =2946 Genotypes = 8 Countries = 74

สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายในประเทศไทย (พ.ศ. 2536-2553) DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 2536 2541 2544 2550 2551 2553 D5 G2 Year เพียง1ราย D9 2554

สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายในประเทศไทย (พ.ศ.2536-2553) D5 8 จังหวัด G2 3 จังหวัด 17 จังหวัด D9 9 จังหวัด พื้นที่ที่เหลือ ....... ปลอดหัด? Measles genotype D5 D9 G2

ค่าเฉลี่ยอัตราป่วยโรคหัดต่อแสนประชากรรายจังหวัดตั้งแต่พ.ศ. 2548 - 2553 พบ 17 จังหวัดที่มีอัตราป่วยฯสูงสุด (10.00 ถึง 30.07) มีข้อมูลสายพันธุ์ไวรัสหัดเพียง 3 จังหวัด (17.5% จาก 17 จังหวัด) ทั่วประเทศมีข้อมูลสายพันธุ์ไวรัสหัด จาก 17 จังหวัด (22.1% จาก 77 จังหวัด) Morbidity rate (/100,000)* < 4.00 4.00 – 9.99 10.00 – 23.99 24.00+ *Bureau of Epidemiology, Ministry of public Health, Thailand

ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายของการกำจัดโรคหัด โครงการกำจัดโรคหัด ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายของการกำจัดโรคหัด มาตรการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย บทบาทของLab 1. ความครอบคลุมของวัคซีน ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก ตาม EPI program และเข็มที่สอง ตาม EPI program หรือการรณรงค์ให้วัคซีนเสริม (Supplementary immunization activity: SIA) ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก และเข็มที่สองต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในระดับตำบลและระดับประเทศ การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัด 2. ขนาดของเหตุการณ์การระบาด จำนวนผู้ป่วยยืนยันในแต่ละเหตุการณ์ระบาด พบผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 10 รายต่อหนึ่งการระบาดในอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเหตุการณ์ระบาดทั้งหมด การตรวจยืนยันโรคหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ด้วยวิธี ELISA IgM 3. อุบัติการณ์ของโรคหัด อุบัติการณ์โรคหัดต่อประชากรล้านคน อุบัติการณ์โรคหัดน้อยกว่า 1 ต่อประชากรล้านคน ทั้งนี้ไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ (imported case) การตรวจยืนยันโรคหัดด้วยวิธี ELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด 4. สายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ จำนวนสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ ไม่มีผู้ป่วยยีนยันโรคหัดที่ติดเชื้อจากไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายในประเทศ เป็นระยะเวลาติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 12 เดือน ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด เมื่อดูที่มาตรการที่1.ความครอบคลุมของวัคซีน ...การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัดจากกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนเป็นการทำให้มั่นใจได้ว่าระดับภูมิคุ้มกันในสมาชิกของชุมชนอยู่ในระดับที่สามารถป้องกันโรคได้.....ในมาตรการที่ 2.การยืนยันขนาดของเหตุการณ์ระบาด ระบบเฝ้าระวังโรคสามารถตรวจจับการระบาดของโรคหัดได้อย่างรวดเร็วด้วยการตรวจยืนยันด้วยวิธี ELISA IgM มาตรการที่ 3.การตรวจจับอุบัติการณ์ของโรคหัดว่าน้อยกว่า 1 รายต่อประชากรล้านคน โดยไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ ได้โดยการตรวจยืนยันด้วยวิธีELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ในมาตรการสุดท้าย การหาสายพันธุ์ไวรัสหัดที่แพร่กระจายในประเทศและไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อจากสายพันธุ์ท้องถิ่นไม่ต่ำกว่า 12เดือน โดยการตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัด Recommended by WHO