มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
Use Case Diagram.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
การแจกแจงปกติ.
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ITกับโครงการ Food safety
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
โครงการพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิด
ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป

การจัดทำทะเบียนรายงาน ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการวัคซีน 1. ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ทะเบียนการให้บริการวัคซีนในกลุ่มเป้าหมาย

ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนของ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนแก่หญิงมีครรภ์ ทะเบียนการให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียน

หมายเหตุ เมื่อให้วัคซีนแล้วบันทึก วันเดือนปี ลงในช่องวัคซีนที่ให้ แบบ 0119 รบ. 1 ก/3 ทะเบียนติดตามการรับวัคซีนในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน หมู่ที่………………ตำบล…….……………อำเภอ…………………จังหวัด……………………. หมายเหตุ เมื่อให้วัคซีนแล้วบันทึก วันเดือนปี ลงในช่องวัคซีนที่ให้

ทะเบียนติดตามการรับวัคซีน dT/TT สำหรับหญิงมีครรภ์ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ลำดับ ที่ ชื่อ-นามสกุล วันครบกำหนดคลอด อายุ (ปี) ที่อยู่ ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของ T (DTP-HB, DTP, dT,TT) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ไม่ต้องฉีดเนื่องจากอยู่ในระยะคุ้มครอง 10 ปี 1. xxx 3 เม.ย. 52 25 xx 1 ก.พ. 51 3 มี.ค. 51 3 ก.ย. 51 -  2. 8 มิ.ย. 52 29 21 ก.ค. 51 22 ส.ค. 51 25 ก.พ. 52 3. 13 ส.ค. 52 20 12 ธ.ค. 32 12 ก.พ. 32 16 เม.ย. 33 17 ต.ค. 34 30 ก.ย. 43 4. 24 ส.ค. 52 22 5 ก.ย. 50 6 ต.ค. 50 9 เม.ย. 52 5. 5 ม.ค. 53 6 ส.ค. 52 6 ก.ย. 52 6 มี.ค. 53 6. 21 ก.พ. 53 21 3 ก.พ. 51 7 มี.ค. 51 7 ก.ย. 51 7. 31 เม.ย. 53 11 ม.ค. 51 11 ก.พ. 51 24 ส.ค. 52 8. 5 ก.ค. 53 28 8 ก.พ. 49 15 ธ.ค. 52 15 มิ.ย. 53 9. 7 ก.ย. 53 26 1 ก.พ. 38 7 มี.ค. 38 7 ก.ย. 38 10 ม.ค. 53 หมายเหตุ เมื่อให้วัคซีนแล้ว บันทึก วัน เดือน ปี ลงในช่องวัคซีนที่ให้

ประโยชน์ของทะเบียนติดตามการรับวัคซีน 1. ใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามการรับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย 2. ใช้ในการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของเด็กชั้น ป. 1 3. ใช้ในการประเมินความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบชุดในกลุ่มเป้าหมาย

วิธีการจัดทำทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีน (1) กรณีจัดทำในสมุดหรือกระดาษ บันทึกรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเป็นรายหมู่บ้าน การเรียงลำดับรายชื่อ ในเด็ก  เรียงลำดับตามเดือนเด็กเกิด ในหญิงมีครรภ์  เรียงตามวันครบกำหนดคลอด 3. บันทึก “ว/ด/ป ที่ได้รับวัคซีน” กำกับทุกครั้ง ไม่ว่าจะได้รับวัคซีนจากสถานบริการใด การจัดทำข้อมูลต้องเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง การบันทึกข้อมูลรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่จากการได้รับวัคซีนจากที่อื่น บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง ที่นี่ ที่อื่น ครั้งหน้า

วิธีการจัดทำทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีน (2) กรณีจัดทำในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผ่านฐานข้อมูลตามมาตรฐานของ สนย. จัดทำฐานข้อมูลเด็กอายุ 0-6 ปี และหญิงมีครรภ์ทุกคน ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบในแฟ้ม person บันทึกรายละเอียดข้อมูลการให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคนที่มารับบริการตามข้อกำหนดของ สนย. ** บันทึกสถานที่รับวัคซีนให้ตรงกับความจริง Key in รับบริการจาก “ที่นี่” หรือ “ที่อื่น” 3. Print out รายงานการติดตามการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบเก็บไว้ การจัดทำข้อมูลต้องเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

ทะเบียนการให้บริการวัคซีน ทะเบียนการให้บริการวัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ทะเบียนการให้บริการวัคซีนแก่หญิงมีครรภ์ ทะเบียนการให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียน

โปรแกรม JHCIS

โปรแกรม HOSxP

ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยมารดา ชื่อหน่วยงาน โรงพยาบาล XXXXX อำเภอ XXXXX จังหวัด XXXXXXX วันที่สั่งพิมพ์: 14 กันยายน 2552 วันที่ตัดยอดทะเบียน วันที่ : 31 ส.ค. 2552 ลำดับ วันรับบริการ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) ที่อยู่ (บ้านเลขที่/ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด) วัคซีนบาดทะยัก สุขภาพปากและฟัน ก่อนคลอด (ครั้งที่ 1, 2,3หรือ 4 คลอด หลังคลอด (ครั้งที่ 1,2หรือ3 ยา/เวชภันฑ์-จำนวน สิทธิฯ เลขที่บัตรฯ ตรวจฟันครั้งแรก ฟันผุยังไม่อุด (ซี่) เหงือกอักเสบ หินน้ำลาย ผู้ทำคลอด ผลการคลอด 1 19/8/52 xxx xxxx 35 x xx xxx xxxxx dT3 ไม่พบ 2 xxxx 23 dT1 3 31 dT4 4 25 5 29 6 38 7 40 8 24 9 28 dT2

ตัวอย่างบัญชีรายชื่อผู้รับวัคซีนในนักเรียน (BCG, MMR, dT และ OPV) ชื่อสำนักงาน........สถานีอนามัย เจิดจรัส..................ตำบล........เจิดจรัส.........อำเภอ.......เจิดจรัส...............จังหวัด.......น่าอยู่................ ประจำเดือน..........มิถุนายน......................พ.ศ........2552.................................. โรงเรียน........น่าเรียน............................ชั้นประถมศึกษาปีที่.......1................วันที่.........4 มิถุนายน 2552......................................... ลำ ดับที่ ชื่อ-นามสกุล อายุ จำนวนครั้งที่เคยได้รับวัคซีน วัคซีนที่ให้ หมายเหตุ BCG DTP/OPV MMR dT/OPV dT ป.1 ป.2 ป.6 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 1. ด.ญ.ฟ้าใส ใจดี 7 1 5/5 4 มิ.ย. 52  - 2. ด.ช.เก่ง จริงจัง 8 11มิ.ย. 52 ขาดเรียน 3. ด.ญ. ขวัญ จิรัง ไม่ทราบ 4 มิ.ย. 52 มี scar 4 มิ.ย. 52/ 6 ส.ค. 52 / 10 มิ.ย.53 / 4. ด.ญ.ไผ่ มีสุข 5. ด.ญ. พิม รักดี 3/3 6. ด.ช. กร ขยันจัง 6 11มิ.ย. 52 7. ด.ญ.กิ่ง เก่งนัก 8. ด.ช.ก้อง จริงใจ 6 ส.ค.52/ 10 มิ.ย53/ 9. ด.ช.ว่าน เสียงดี 4/4 10. ด.ญ. นุช เร็วรี่ 11. ด.ญ. ฝ้าย สู้ดี 12. ด.ช.จอม ดีแสน 1/1 4 มิ.ย. 52 13. ด.ญ. เพ็ญ มีบุญ 4 มิ.ย52 วันที่ 4 มิ.ย. 52 วันที่ 6 ส.ค. 52 วัคซีน MMR Lot no 8425 หมดอายุ 10 ธันวาคม 2552 ขวดที่ 1-2 วัคซีน dT Lot no 3751 หมดอายุ 12 มกราคม 2553 ขวดที่ 1 หมดอายุ 12 มกราคม 2553 วัคซีน OPV Lot no 2256 หมดอายุ 9 กุมภาพันธ์ 2553 วันที่ 10 มิ.ย. 53 วันที่ 11 มิ.ย. 52 Lot no 3789 หมดอายุ 24 มกราคม 2554 Lot no 8436 หมดอายุ 18 มีนาคม 2553 Lot no 2365 หมดอายุ 3 เมษายน 2554

ประโยชน์ของทะเบียนการให้วัคซีน 1. ประมาณการจำนวนวัคซีนที่ต้องใช้ในการให้บริการครั้งต่อไป 2. ประเมินผลความครอบคลุมการให้บริการวัคซีนแต่ละชนิด 3. คำนวณอัตราการสูญเสียวัคซีนแต่ละชนิด 4. ใช้เป็นฐานในการคำนวณอัตราการเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีน

นับเอง

โปรแกรม count ให้

ประโยชน์ของทะเบียนการให้วัคซีน 1. ประมาณการจำนวนวัคซีนที่ต้องใช้ในการให้บริการครั้งต่อไป 2. ประเมินผลความครอบคลุมการให้บริการวัคซีนแต่ละชนิด 3. คำนวณอัตราการสูญเสียวัคซีนแต่ละชนิด 4. ใช้เป็นฐานในการคำนวณอัตราการเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีน

วิธีการจัดทำทะเบียนการให้วัคซีน (1) กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนและกลุ่มหญิงมีครรภ์ สถานบริการตรวจสอบรหัสวัคซีนที่ใช้ให้ตรงกับรหัสวัคซีนมาตรฐานของ สนย. Key in รายละเอียดของผู้รับบริการทุกรายทั้งในและนอกเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายชาวต่างชาติ - ข้อมูลที่จำเป็น : ชื่อ-นามสกุล อายุ ที่อยู่ ชนิดวัคซีน ครั้งที่ให้ Lot number ของวัคซีน ตรวจสอบความถูกต้องในการ key in ผู้รับวัคซีนแต่ละรายกับแหล่งข้อมูลที่นำมา key in Print out ทะเบียนการให้วัคซีนแล้วเก็บไว้เป็นหลักฐาน

วิธีการจัดทำทะเบียนการให้วัคซีน (2) กลุ่มเด็กวัยเรียน การเตรียมฐานข้อมูล สถานบริการประสานกับ รร. ก่อนวันให้วัคซีน เพื่อขอรายชื่อเด็ก ป. 1 และ 6 ทุกคน พร้อมเลข ID 13 หลัก นำรายชื่อเด็กมาจัดทำทะเบียนการให้วัคซีน เพื่อคาดประมาณการใช้วัคซีนและเตรียมบันทึกในวันที่ให้วัคซีน ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในอดีตของเด็ก ป.1 เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการให้วัคซีน BCG, dT, OPV จัดทำฐานข้อมูลเด็กนักเรียนชั้น ป. 1 และ 6 ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผ่านฐานข้อมูลตามมาตรฐานของ สนย.

วิธีการจัดทำทะเบียนการให้วัคซีน (3) กลุ่มเด็กวัยเรียน การบันทึกการได้รับวัคซีน บันทึกการให้วัคซีนเป็นรายบุคคลในบัญชีที่ได้เตรียมไว้แล้ว ข้อมูลที่สำคัญ : ชนิดของวัคซีนที่ให้ ครั้งที่ให้ วันที่ให้ Lot no. ของวัคซีน ในกรณีที่เด็กขาดเรียนและได้รับวัคซีนภายหลังต้องบันทึก วันให้วัคซีน Lot no. ให้ตรงกับความเป็นจริง บันทึกข้อมูลตามข้อ 1 ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผ่านฐานข้อมูลตามมาตรฐานของ สนย. ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนในการ key in ลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปรียบเทียบกับรายชื่อผู้รับวัคซีนในเด็กนักเรียน

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (1) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

ตัวอย่างรหัสวัคซีนใน EPI

ตัวอย่างรหัสวัคซีนนอก EPI ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ(เดือน) ชื่อโรคที่ป้องกัน รหัส ICD_10 _TM I11 IPV1 ไอพีวี1   2 เดือน โรคโปลิโอ Z24.0 I12 IPV2 ไอพีวี2 4 เดือน I13 IPV3 ไอพีวี3 ฉีด 6 เดือน I14 IPV4 ไอพีวี4 1 ปีครึ่ง I15 IPV5 ไอพีวี5 4 ปี J11 JE1 : Lived attenuated เจอีเชื้อเป็น1 9 เดือนขึ้นไป โรคไข้สมองอักเสบเจอี Z24.1 J12 JE2 : Lived attenuated เจอีเชื้อเป็น2 ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 3 เดือน M11 MMRV1 เอ็มเอ็มอาร์วี1 ตั้งแต่อายุ 9 เดือน – 12 ปี โรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน-อีสุกอีใส Z27.4,Z25.8 M12 MMRV2 เอ็มเอ็มอาร์วี2 ฉีดกระตุ้นห่างจาก โด๊สแรกอย่างน้อย 6 สัปดาห์

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (2) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (2) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิด เป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (3) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (3) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

การตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของ การบันทึกข้อมูลการให้บริการ กรณี print out รายงานได้ ตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลตั้งต้น เช่น จาก family folder หรือทะเบียนผู้รับบริการ (กระดาษ) กับทะเบียนผู้รับบริการที่ print out จากคอมพิวเตอร์ (ทะเบียน Y) กรณี print out รายงานไม่ได้ ตรวจสอบเป็นรายบุคคลกับข้อมูลผู้รับบริการ หน้าจอคอมพิวเตอร์

เปรียบเทียบความครบถ้วนถูกต้องของการบันทึกข้อมูลการใช้บริการระหว่าง Family Folder กับ ทะเบียน print out โปรแกรม JHCIS

ตัวอย่างการเปรียบเทียบความครบถ้วนถูกต้องของการบันทึกข้อมูล การให้บริการระหว่างทะเบียนในสมุด กับ ทะเบียน print out โปรแกรม JHCIS

ตัวอย่างการเปรียบเทียบความครบถ้วนถูกต้องของ การบันทึกข้อมูลการให้บริการระหว่าง Family Folder กับ ทะเบียน print out โปรแกรม HOSxP

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (4) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (4) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

โปรแกรม HOSxP

การนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (5) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (5) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5.การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป เพื่อคาดประมาณจำนวนวัคซีนในการให้บริการและติดตามให้มารับวัคซีนในครั้งต่อไป

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (6) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (6) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

การ Print out รายงานเก็บไว้ เพื่อสำรองข้อมูลการให้บริการที่บันทึกในคอมพิวเตอร์แล้ว เก็บไว้ตรวจสอบกรณีคอมพิวเตอร์เสียใช้การไม่ได้

มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (7) มาตรฐานการบันทึกข้อมูลการให้บริการ (7) 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น

บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง การบันทึกข้อมูลรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่จากการได้รับวัคซีนจากที่อื่น บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง ที่นี่ ที่อื่น ครั้งหน้า

ที่อื่น

ความครอบคลุมของงาน EPI ความครอบคลุมของการให้บริการวัคซีน ความครอบคลุม ของการได้รับวัคซีน ในพื้นที่รับผิดชอบ ยึดผู้ให้บริการเป็นหลัก ยึดเด็กในพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนเป็นหลัก > 100% ได้ >100% ไม่ได้ = จำนวนเด็กผู้มารับบริการทั้งหมดทั้งในและนอกพื้นที่ จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด = จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีน จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด

ขอบคุณค่ะ