นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ACMECS และ MBDS
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
กลุ่มที่ ๑ การเตรียมข้อมูล Academic Program และ Field Trip ของการประชุม 2nd Pan Asia Pacific Congress on Military Medicine วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้กรอบและแนวคิดของ.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และพัฒนาองค์กรด้านการบริหารจัดการ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) กรมควบคุมโรค ปี
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มิ. ย.- ก. ค ปลาย เม. ย.- พ. ค พ. ย HFMD outbreak 2007 from ProMED- mail post พ. ค
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โครงการกำจัด โรคหัด Started. DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายใน ประเทศไทย ( พ. ศ *) D5 G2.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร สถานการณ์โรค ระบาดวิทยา และการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร สำนักระบาดวิทยา กรม ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 22 เมษายน 2554

โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ (Emerging infectious diseases) นิยามองค์การอนามัยโลก หมายถึง โรคติดต่อเชื้อชนิดใหม่ ๆ ที่มีรายงานผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา 1) โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (New infectious diseases) เช่นโรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ไข้สมองอักเสบนิปาห์ไวรัส 2) โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (New geographical areas) เป็นโรคที่มาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง หรือข้ามทวีป เช่น โรค เวสต์ไนล์ไวรัส

โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ (Emerging infectious diseases) 3) โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือโรคติดต่อที่เคยระบาดในอดีตและสงบไปนานแล้วแต่กลับมาระบาดอีก เช่น ไข้ชิคุนกุนยา 4) เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism) เช่น วัณโรคดื้อยา 5) อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) โดยการใช้เชื้อโรคหลายชนิดผลิตเป็นอาวุธ เช่น แอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ เป็นต้น

Classical Swine Fever, Netherlands Economic Impact of EID 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 1994 1995 2004 2005 2006 $50bn $40bn $30bn $20bn $10bn Estimated Cost BSE UK, $10-13bn Foot & Mouth Taiwan, $5-8bn UK $25–30bn Avian Flu Asia, $5–10bn BSE U.S., $3.5bn BSE Canada $1.5bn Avian Flu, NL $500m SARS China, Hong Kong, Singapore, Canada $30-50bn Nipah, Malaysia $350-400m Classical Swine Fever, Netherlands $2.3bn BSE Japan $1.5bn HPAI, Italy $400m Figures are estimates and are presented as relative size.

Global Map of EIDs Origins, 1940-2004 Source: Kate Jones, Nature 2008

Zoonosis > 50% > 50% Zoonotic EIDs = 60.3% (Wildlife animal origin = 71.8%) Zoonosis > 50% > 50% Source: Kate Jones

Global Distribution of EIDs by Pathogens, 1940-2004 Zoonotic pathogen from wildlife Zoonotic pathogen from non-wildlife Drug-resistant pathogen Vector-borne pathogen Source: Kate Jones, Nature 2008

Pathogen risk factors ไวรัส ไวรัส ไวรัส All pathogens EIDs OIE list Human Domestic animals Domestic carnivores ไวรัส ไวรัส ไวรัส

เส้นทางการบินระหว่างประเทศ Source: PNAS, 2004

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 1st Wave 3rd Wave 2nd Wave Week of 2009 2010 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

New Tourist Place and Emergence of Leptospirosis, Satun Province, Thailand, Dec 2007

5/41 (12.2%) of tourists diagnosed Leptospirosis New Tourist Place and Emergence of Leptospirosis, Satun Province, Thailand, Dec 2007 5/41 (12.2%) of tourists diagnosed Leptospirosis Source: Dr.Anek Mungaomklang , FETP-Thailand

Bat’s Kidneys: 26/36 (72.2%) positive Leptospira by PCR Tourists, Cave and Bats Bat’s Kidneys: 26/36 (72.2%) positive Leptospira by PCR Source: Dr.Anek Mungaomklang , FETP-Thailand

Frog’s Kidneys: 1/13 (7.7%) positive Leptospira by PCR Source: Dr.Anek Mungaomklang , FETP-Thailand

Serological Studies in Human and Animals Species Samples(%) Serovar Test Tourists 5/41 (12.2%) RAN MAT Tour Guides (River) 21/79 (26.6%) SHE and AUS Tour Guides (Cave) 3/5 (60.0%) Cattle 17/17 (100%) SHE and RAN Dogs 21/21 (100%) Frogs/Toads 3/3 (100%) Rats 0/2 (0%) - Bats 26/36 (72.2%) PCR Soil/Water 7 samples (neg) Temp 26.8 0C, Humidity 1.6% Soil pH = 7-7.5 in cave Source: Dr.Anek Mungaomklang , FETP-Thailand

Spread of pathogens (globalized travel and trade) 16

จำนวนสัตว์ป่านำเข้าถูกกฎหมาย ปี 2548-2551 ที่มา: กรมปศุสัตว์

จำนวนแพะใน 20 จังหวัด เรียงตามลำดับ ลำดับที่ จังหวัด จำนวน % ของประเทศ   ยอดรวมทั้งประเทศ 383,796 100.00 1 กาญจนบุรี * 24,529 6.39 2 ประจวบคีรีขันธ์ * 24,237 6.32 3 ยะลา 23,811 6.20 4 สงขลา 19,263 5.02 5 ปัตตานี 18,907 4.93 6 สตูล 17,205 4.48 7 ชัยนาท 15,367 4.00 8 นราธิวาส 15,289 3.98 9 นครศรีธรรมราช 14,216 3.70 10 นครสวรรค์ * 12,653 3.30 11 ลพบุรี 11,376 2.96 12 นครราชสีมา 10,457 2.72 13 นครปฐม 10,213 2.66 14 สระบุรี 9,886 2.58 15 เพชรบุรี 9,441 2.46 16 สุพรรณบุรี * 9,228 2.40 17 กรุงเทพมหานคร * 8,526 2.22 18 กระบี่ 8,489 2.21 19 อุตรดิตถ์ 8,302 2.16 20 ราชบุรี * 7,652 1.99 ที่มา: กรมปศุสัตว์ และสำนักระบาดวิทยา

Q Fever Q fever is a zoonotic disease. Caused by Coxiella burnetii Resistant to heat, drying, and many common disinfectants Survive for long periods in the environment Underdiagnosed and underreported because of limited clinical suspicion and lack of availability of diagnostic laboratories http://www.cdc.gov/ncidod/dvrd/qfever

Q Fever The primary reservoirs: cattle, sheep, and goats C. burnetii does not usually cause clinical disease in these animals Common mode of transmission is airborne Ingestion of contaminated milk, regurgitation and inspiration of the contaminated food are a less common. http://emergency.cdc.gov/agent/qfever/clinicians

Reported Q Fever cases 2010 Case1 Case2 Case3 Place Khonkaen Loei Kalasin Gender Male Age (years) 67 42 51 Occupation Rice farmer, livestock Shoes seller Pets dog - Onset 5/2010 6/2010 3/2010 Symptom Fever, myalgia and back pain Fever and dyspnea Fever and dyspnea on exertion Status improve Source: IEIP Unpublished data

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคระบาด ปัจจัยระยะสั้น การเดินทางและเคลื่อนย้าย คน และสัตว์ การท่องเที่ยว ภัยธรรมชาติ การปนเปื้อนในกระบวนการผลิตอาหาร ปัจจัยระยะยาว การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ เช่น อุณหภูมิโลก สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน พื้นที่เขตเมืองเพิ่มขึ้น การบุกรุกทำลายป่า และการไล่ล่าสัตว์ป่า

พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออก ปีพ.ศ.2551

Risk of zoonotic disease transmission from wildlife animals to humans

Cross-sectoral and multi-disciplinary “One Health” Concept Human Health Ecosystem Health Animal Health Cross-sectoral and multi-disciplinary collaboration

“One Health” Emergency Response Team FETP (MD/DVM) SRRT (Public Health/Animal Health/Environmental Health/Laboratory) Public Health Volunteers/Animal Health Volunteers/Wildlife Park Rangers/Zoo Keepers National Advanced level Provincial Intermediate level Community Basic level “One Health” Concept

“One Health” Concept

A Strategic Framework for Reducing Risks of Infectious Diseases at the Animal–Human–Ecosystems Interface A comprehensive, holistic approach required to address high impact EIDs Humans-animal-ecosystems health Multi-disciplinary, multi-sectoral Long term PREVENTION Build on existing structure Not creating new institutions

Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (APSED) The “One Health” approach has been applied primarily in the APSED zoonoses framework through establishment of a functional coordination mechanism between human and animal health sectors to address zoonoses.

Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (APSED) 1.ENDORSES the Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (2010); 2. URGES Member States: (1) to use the Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (2010) (APSED 2010) as a strategic framework to guide national and local capacity-building programmes for emerging diseases and public health events; (2) to use APSED (2010) as a tool when developing relevant national plans to ensure effective preparedness for emerging diseases and the development and strengthening of the core capacities required under the International Health Regulations (2005), including enhanced surveillance and response;

APSED 2010 8 Focus Areas: Key Components

ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event-based surveillance) SRRT อำเภอ ศูนย์ รับ แจ้ง ข่าว รพ. สต. แหล่งข่าวในชุมชน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น สอบสวน ตรวจสอบ แจ้งข่าว เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน One Health

Joint Investigation of H5N1 Outbreak “One Health”

Multidisciplinary responses to AI (H5N1) epidemic Hospital Active case finding Animal study One Health Wild bird surveillance Laboratory Pathological Examination

National Committee on AI Response & Pandemic Influenza Preparedness 2nd National Strategic Plan on Avian Influenza and Influenza Pandemic Preparedness (2008-2010) 1st National Strategic Plan on Avian Influenza and Influenza Pandemic Preparedness (2005-2007) Promote collaboration between animal and human health sector

มติสมัชชาสุขภาพ แห่งชาติ ครั้งที่ 2 โรคติดต่ออุบัติใหม่

แผนยุทธศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ ประกอบด้วยเนื้อหาที่ครอบคลุมยุทธศาตร์ต่างๆ ได้แก่ การพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องรวมทั้ง ภาคประชาชน การเตรียมความพร้อมในด้านงบประมาณ เวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ในสัตว์และในคน ในระดับประเทศ จังหวัดและท้องถิ่น การสื่อสารสาธารณะต้องเสนอข้อเท็จจริง ไม่ปิดบังและให้ความเข้าใจอย่างถูกต้องทั้งระดับชาติและชุมชน ในการรองรับโรคติดต่ออุบัติใหม่ การสร้างจิตสำนึกในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่

แผนยุทธศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ (ต่อ) การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเพื่อรองรับวิกฤตที่เกิดการระบาดใหญ่ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ การวิจัย การจัดการความรู้ การจัดทำฐานข้อมูล และประสานการเข้าถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับวิชาการและปฏิบัติการ การค้นหาและการตรวจพบ เพื่อการรับมือกับอาวุธชีวภาพ การทบทวนปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมาย การจัดการสัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า และการควบคุมสัตว์จรจัด เช่น สุนัข แมว พัฒนาการจัดการด้านสุขาภิบาล การเฝ้าระวังและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ

สรุป ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และเกิดผลกระทบต่อความมั่นคงด้านสุขภาพ “One Health” สามารถประยุกต์ใช้ในการรับมือกับโรคติดต่ออุบัติใหม่

กิตติกรรมประกาศ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมปศุสัตว์ องค์การสวนสัตว์ IEIP-TUC WHO/FAO/OIE

Sawasdee