กลุ่มที่ ๔ การประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง “ งานสาร บรรณ ” ประธานกลุ่ม นางจินตนา นิลเกิดเย็น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม ๔๐ ท่าน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
Advertisements

หน้าที่ความรับผิดชอบ
ระเบียบสารบรรณ สำเนาคู่ฉบับ สำเนา ชั้นความเร็ว ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
หนังสือราชการ.
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
อบรม โปรแกรมระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กลุ่มรวมมิตร (กลุ่ม 3) นายณรงค์ คงมั่น สสจ.ขอนแก่น ประธาน
Creative Mind กลุ่ม 2.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ฝ่ายบริหารทั่วไป.
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
Good Governance :GG.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
จังหวัดนครปฐม.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พ.ศ – 2551 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมราชทัณฑ์
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
1. กอง/สำนัก/เขต/ศูนย์ ออกหนังสือถึง 1 หน่วยงาน
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2539
องค์กรบริหารบุคลากรท้องถิ่น
ITกับโครงการ Food safety
กลุ่มข้าวเหนียว.
องค์ความรู้ในกระบวนการพัฒนา ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบการลา)
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
แผนปฏิรูปงานสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง การพัฒนา ทรัพยากร บุคคล การสร้าง ความเชื่อมั่น และความรู้ ความเข้าใจ ในเชิงรุก การปฏิรูป ระบบงาน และ IT และ IT สศค.
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
การเขียนหนังสือราชการ
สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ ๔ การประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง “ งานสาร บรรณ ” ประธานกลุ่ม นางจินตนา นิลเกิดเย็น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม ๔๐ ท่าน

ประเด็น / ปัญหา ในการประชุมกลุ่มย่อย ดังนี้ 1. รูปแบบหนังสือราชการ 2. เรื่องการเขียน / ร่างหนังสือ ราชการ 3. การอบรมให้ความรู้เรื่อง ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ 4. การใช้ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์

ประเด็น / ปัญหา ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแน ะในการ ประชุม แนวทางแก้ไข / มติที่ ประชุม 1.1 รูปแบบ การใช้ หนังสือที่ ติดต่อกับ ภายในกรม / กระทรวง / จังหวัด เดียวกันที่ไม่ เป็น ไปตาม ระเบียบสาร บรรณ ให้ กำหนดการ ใช้หนังสือ ให้ชัดเจน และเป็นไป แนวทาง เดียวกัน - การทำหนังสือที่ ติดต่อกันระหว่าง กระทรวง / ทบวง / กรม หรือจังหวัด เดียวกัน ใช้รูปแบบหนังสือ ภายใน - การทำหนังสือถึง บุคคลภายนอกหรือส่วน ราชการอื่น ให้ใช้ รูปแบบหนังสือ ภายนอก

ประเด็น / ปัญหา ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ในการ ประชุม แนวทางแก้ไข / มติที่ ประชุม 1.2 กำหนด ตัวอักษรและ ขนาด ตัวอักษร ให้มีการ กำหนด ตัวอักษรที่ใช้ เป็นแนวทาง เดียวกัน เนื่องจากมี การใช้งานที่ หลากหลาย - การจัดทำหนังสือ ราชการ กำหนดตัวอักษรเป็น Angsana New ขนาด 16 พอยต์ - กำหนดขนาดตัวอักษร คำว่า “ บันทึกข้อความ ” ขนาด 24 พอยต์ 1.3 การ ย่อหน้า / ระยะห่าง บรรทัด เนื่องจาก ปัจจุบันมี การใช้งาน ที่ผิดและไม่ สวยงาม - กำหนดให้ย่อหน้า 2 TAB / 20 เคาะ - ระหว่างข้อความให้ใช้ 2 เคาะ - แต่ละย่อหน้าให้มีระยะห่าง 1.5 ซม.

ประเด็น / ปัญหา ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแน ะในการ ประชุม แนวทางแก้ไข / มติที่ ประชุม 3. เจ้าหน้าที่ที่ เข้ามา ปฏิบัติงาน ใหม่หรือ นักวิชาการยัง ขาดความรู้ เรื่องงานสาร บรรณและ จัดทำหนังสือ ราชการที่ผิด ระเบียบสาร บรรณและไม่ สวยงาม กำหนดให้มี การอบรม เกี่ยวกับ ระเบียบงาน สารบรรณ สำหรับ เจ้าหน้าที่ อย่าง สม่ำเสมอ เนื่องจากมี การเปลี่ยนตัว เจ้าหน้าที่ใน การปฏิบัติงาน บ่อย กำหนดให้มีการอบรม ให้ความรู้เรื่อง ระเบียบงานสาร บรรณ แก่ข้าราชการ ใหม่ / นักวิชาการและ กำหนดให้เป็นความรู้ พื้นฐานของแต่ละ บุคคลที่เข้ามา ปฏิบัติงานราชการ ประเด็นที่ 3. การอบรมให้ความรู้ “ งาน สารบรรณ ”

ประเด็น / ปัญหา ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ในการประชุม แนวทางแก้ไข / มติที่ประชุม 4. การใช้งาน ระบบงานสาร บรรณอิเล็กทรอ นิส์เกิดปัญหา บ่อย, ระบบสาร บรรณ ใช้งาน ไม่ได้ ( ส่วน ภูมิภาคและ ส่วนกลางบาง หน่วยงาน ) สรุปปัญหาที่ไม่ สามารถเข้าใช้ ระบบงานสาร บรรณ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครือข่าย อินเตอร์เน็ตใช้ งานไม่ได้, บุคลากรที่เข้า ใหม่ขาดความรู้ เรื่องการใช้ ระบบงานสาร บรรณ อิเล็กทรอนิกส์ - สลก. สรุป ปัญหาและหา แนวทางแก้ไข เรื่องระบบงาน สารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ โดยการปรึกษา ผู้เกี่ยวข้อง - จัดอบรม ระบบงานสาร บรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ทุกปี /1 ครั้ง ประเด็นที่ 4. การใช้ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์

ประเด็น / ปัญหา ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแน ะในการ ประชุม แนวทางแก้ไข / มติที่ประชุม 5. ฝ่ายบริหารฯ ขาดเครื่อง คอมพิวเตอร์ สำหรับใช้งานที่ ทันสมัยต่อระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆที่ปัจจุบันมี การใช้อยู่หลาย ระบบงาน ขอ สนับสนุน การจาก ผู้บริหาร ขอสนับสนุนจาก ผู้บริหาร และเสนอ โครงการจัดหา เครื่อง คอมพิวเตอร์ สำหรับฝ่าย บริหารของทุก หน่วยงาน ประเด็นที่ 4. การใช้ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์

ขอบคุ ณค่ะ