สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
หมวด2 9 คำถาม.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ.2554-2557) เอกสารหมายเลข 8 สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ.2554-2557) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา โดย กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ วันที่ 19 กรกฎาคม 2553

กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ประสานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ปี 2554-2563 ผู้บริหารและบุคลากรของ สคร.5 ได้ร่วมดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2554-2557) โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมา รวบรวมความคาดหวังของผู้บริหารระดับต่าง ๆ รวบรวมความคิดเห็นและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายในและภายนอก รวมทั้งการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2554-2557)

รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์สถานการณ์ สรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ปี 2550-2553 ประเด็นปัญหา อุปสรรคของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ปี 2550-2553 รวบรวมความคาดหวังของผู้บริหารระดับต่าง ๆ รวบรวมความคิดเห็นและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ทบทวนและจัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ จัดประชุมรับร่างแผนยุทธศาสตร์ (19 ก.ค.53)

2554-2557 วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นองค์กรชั้นนำระดับประเทศด้านวิชาการ และพัฒนาเครือข่ายให้มีการจัดการเชิงระบบในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพภายในปี 2557”

2554-2557 2554-2557 คำจำกัดความ องค์กรชั้นนำระดับประเทศ หมายถึง ผลงานวิชาการ/ วิจัย/นวัตกรรมและบุคลากรของ สคร. 5 ได้รับการยอมรับ เช่น เป็นที่ปรึกษา/เป็นคณะกรรมการ/คณะทำงาน / ได้รับการคัดเลือกนำเสนอผลงานระดับประเทศ /นานาชาติ ผลงานด้านวิชาการถูกนำไปผลักดันเชิงนโยบายในระดับท้องถิ่น ภูมิภาคและประเทศ เป็นแหล่งศึกษาดูงานจากหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ

2554-2557 คำจำกัดความ (ต่อ) จัดการเชิงระบบ หมายถึง การจัดการข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว และสามารถนำไปใช้ในการวางแผน อ้างอิง พยากรณ์โรคได้อย่างถูกต้องแม่นยำ วางแผนการปฏิบัติงานและแผนพัฒนาบุคลากรร่วมกับพื้นที่ วางระบบประเมินผลที่ชี้ให้เห็นถึงปัญหาโรคและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมาจากรายงาน/งานวิจัย และข้อมูลทุติยภูมิ อื่นๆ ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่าย นำผลงานวิชาการ /งานวิจัย/นวัตกรรม ไปใช้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่

2554-2557 พันธกิจ เป็นองค์กรชั้นนำที่ทำหน้าที่รับผิดชอบการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่สาธารณสุขเขต 14 โดยปฏิบัติภารกิจตามที่กำหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2552 ด้วยวิธีการดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และรูปแบบการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 3. ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 4. ประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและบริเวณชายแดนเพื่อการป้องกันโรคระหว่างประเทศ 5. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ

2554-2557 I S M A R T ค่านิยมร่วม (Shared Value) Integrity : พัฒนาจิตสำนึกในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม Service Mind : จิตใจมุ่งมั่นบริการ พร้อมให้บริการ Mastery : พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องให้เกิดความเชี่ยวชาญ Accountability : โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดประโยชน์ส่วนรวม Relationship : มีมนุษย์สัมพันธ์ สื่อสารมากขึ้น มีน้ำใจและเสียสละ Teamwork : ทำงานเป็นทีม มีความพร้อมที่จะทำงานร่วมกัน

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและพัฒนาวิชาการ (นวัตกรรม, มาตรฐาน, งานวิจัย,เกณฑ์) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการเชิงระบบร่วมกับเครือข่าย(SRRT,ข้อมูล,นโยบายและแผน) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง (คน, การจัดการ)

2554-2557 เป้าประสงค์ 18 เป้าประสงค์ 1.1 ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมได้รับการยอมรับและมีการนำไปใช้ในการป้องกัน ควบคุมโรค เกิดการผลักดันเชิงนโยบายในทุกระดับ 1.2 ภาคีเครือข่ายมีการดำเนิน งานเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน 1.3 ขยายจำนวนเครือข่ายได้ครอบคลุมพื้นที่และทั่วถึง 1.4 พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง 2.1 ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมมีคุณภาพสอดคล้องความต้องการ 2.2 ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานวิชาการ 2.3 ภาคีเครือข่ายสามารถดำเนินงานเชิงระบบได้อย่างมีมาตรฐาน 2.4 ภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการส่งเสริมสนับสนุน 3.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิชาการ 3.2 มีกระบวนการสร้าง พัฒนา และใช้การจัดการเชิงระบบในหน่วยงานและเครือข่าย 3.3 พัฒนากระบวน การทำงานให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน 3.4 พัฒนากระบวน การสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร 3.5 พัฒนาระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 4.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูล 4.2 พัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency) 4.3 การเป็นองค์กรแห่งการจัดการความรู้ 4.4 สร้างและปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร* 4.5 บุคลากรมีความผาสุก และมุ่งมั่นในการทำงาน

2554-2557 กลยุทธ์ 1. โรงเรียนสุขภาพในชุมชน 2. ผลักดัน อปท. ในการกำหนดนโยบายท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคฯ 3. Excellence Center ด้านการป้องกันควบคุมโรค (องค์ความรู้ นวัตกรรม ข้อมูล ศูนย์พยากรณ์การเกิดโรค) 4. พัฒนาภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดการเชิงระบบ 5. พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ 6. พัฒนาสมรรถนะเครือข่ายในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 7. พัฒนาองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีด้านการป้องกันฯ โรคอุบัติใหม่/ซ้ำ 8. พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทาง PMQA 9. สร้างค่านิยม ส่งเสริมขวัญกำลังใจและระบบสวัสดิการ 10. เพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถด้าน IT

Strategy Map สคร.5 พ.ศ. 2554-2557 ยุทธศาสตร์ ประเด็น วิสัยทัศน์: องค์กรชั้นนำระดับประเทศด้านวิชาการ และจัดการเชิงระบบกับเครือข่ายในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพภายในปี 2557 ยุทธศาสตร์ ประเด็น ป1. การวิจัยและพัฒนาวิชาการ ป2. การจัดการเชิงระบบ ร่วมกับเครือข่าย ป3. การพัฒนาสู่การเป็น องค์กรสมรรถนะสูง ตามยุทธศาสตร์ ประสิทธิผล มิติที่ 1 1.1 ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมได้รับการยอมรับและมีการนำไปใช้ในการป้องกัน ควบคุมโรค เกิดการผลักดันเชิงนโยบายในทุกระดับ 1.4 พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง 1.2 ภาคีเครือข่ายมีการดำเนินงานเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน 1.3 ขยายจำนวนเครือข่ายได้ครอบคลุมพื้นที่และทั่วถึง คุณภาพ การให้บริการ มิติที่ 2 2.1 ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมมีคุณภาพสอดคล้องความต้องการ 2.2 ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานวิชาการ 2.3 ภาคีเครือข่ายสามารถดำเนินงานเชิงระบบได้อย่างมีมาตรฐาน 2.4 ภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการส่งเสริมสนับสนุน ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน มิติที่ 3 3.2 มีกระบวนการสร้าง พัฒนา และใช้การจัดการเชิงระบบในหน่วยงานและเครือข่าย 3.3 พัฒนากระบวน การทำงานให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน 3.4 พัฒนากระบวน การสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร 3.5 พัฒนาระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 3.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการผลงานวิชาการ พัฒนาองค์กร มิติที่ 4 4.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูล 4.2 พัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency) 4.3 การเป็นองค์กรแห่งการจัดการความรู้ 4.4 สร้างและปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร 4.5 บุคลากรมีความผาสุก และมุ่งมั่นในการทำงาน

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาวิชาการ เป้าประสงค์ 1. ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมได้รับการยอมรับและมีการนำไปใช้ในการป้องกัน ควบคุมโรค เกิดการผลักดันเชิงนโยบายในทุกระดับ 2. ผลงานวิชาการ/นวัตกรรมมีคุณภาพสอดคล้องความต้องการ 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานวิชาการ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิชาการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปี 54-57) 1. จำนวนผลงานวิชาการ/นวัตกรรมที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่ใน วารสาร/เวทีวิชาการระดับประเทศขึ้นไป ………เรื่อง 2. ร้อยละของผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่มีการนำไปใช้ประโยชน์/ ผลักดันให้เกิดนโยบายในการป้องกัน ควบคุมโรคระดับพื้นที่ ร้อยละ ....... 3. ร้อยละของผลงานวิชาการที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ จริยธรรม 4. จำนวนผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่เครือข่ายนำไปขยายผล/ ถูกนำไปใช้อ้างอิง ...........เรื่อง 5. ร้อยละของผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่เครือข่ายมีส่วนร่วมในการ พัฒนาวิชาการ 6. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิชาการ ระดับ........

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (ต่อ) กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาวิชาการ (ต่อ) กลยุทธ์ 1. โรงเรียนสุขภาพในชุมชน 2. ผลักดัน อปท. ในการกำหนดนโยบายท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมฯ 3. Excellence Center ด้านการป้องกันควบคุมโรค (องค์ความรู้ นวัตกรรม ข้อมูล ศูนย์พยากรณ์การเกิดโรค) 7. พัฒนาองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีด้านการป้องกันฯ โรคอุบัติใหม่/ซ้ำ เจ้าภาพหลัก ...........................................................................................

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (ต่อ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการเชิงระบบร่วมกับเครือข่าย เป้าประสงค์ 1. ภาคีเครือข่ายมีการดำเนินงานเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน 2. ขยายจำนวนเครือข่ายได้ครอบคลุมพื้นที่และทั่วถึง 3. ภาคีเครือข่ายสามารถดำเนินงานเชิงระบบได้อย่างมีมาตรฐาน 4. ภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการส่งเสริมสนับสนุน 5. มีกระบวนการสร้าง พัฒนา และใช้การจัดการเชิงระบบในหน่วยงานและเครือข่าย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปี 54-57) 1. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาที่สามารถคงสภาพการ ดำเนินการเชิงระบบได้ ร้อยละ...... 2. ร้อยละความครอบคลุมของเครือข่ายระดับอำเภอที่ดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงระบบได้ตามมาตรฐาน ร้อยละ....... 3. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาที่สามารถดำเนินการเชิงระบบ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ....... 4. ร้อยละความพึงพอใจของเครือข่ายต่อการส่งเสริมสนับสนุนให้ ดำเนินการเชิงระบบ ร้อยละ........ 5. ระดับความสำเร็จของการสร้าง พัฒนา และใช้การจัดการเชิงระบบใน หน่วยงานและเครือข่าย ระดับ..........

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (ต่อ) กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการเชิงระบบร่วมกับเครือข่าย (ต่อ) กลยุทธ์ 1.โรงเรียนสุขภาพในชุมชน 3. Excellence Center ด้านการป้องกันควบคุมโรค (องค์ความรู้ นวัตกรรม ข้อมูล ศูนย์พยากรณ์การเกิดโรค) 4. พัฒนาภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดการเชิงระบบ 6. พัฒนาสมรรถนะเครือข่ายในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เจ้าภาพหลัก ............................................................................................

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (ต่อ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง เป้าประสงค์ 1. พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง 2. พัฒนากระบวน การทำงานให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน 3. พัฒนากระบวน การสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร 4. พัฒนาระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูล 6. พัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency) 7. การเป็นองค์กรแห่งการจัดการความรู้ 8. สร้างและปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร 9. บุคลากรมีความผาสุก และมุ่งมั่นในการทำงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปี 54-57) 1. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ระดับ........ 2. ระดับความสำเร็จของการพัฒนากระบวนการทำงานให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน 3. ระดับความสำเร็จของการพัฒนากระบวนการสื่อสารภายใน และ ภายนอกองค์กร 4. ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน/การบริหารความเสี่ยง 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ฐานข้อมูล

2554-2557 ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (ต่อ) กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง(ต่อ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปี 54-57) 6. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency) ระดับ........ 7. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสู่การเป็นองค์กรแห่งการจัดการ ความรู้ 8. ร้อยละของบุคลากรที่ปฏิบัติตามค่านิยมองค์กร ร้อยละ ....... 9. ร้อยละของบุคลากรที่มีความผาสุกและพึงพอใจต่อบรรยากาศองค์กร กลยุทธ์ 3. Excellence Center ด้านการป้องกันควบคุมโรค (องค์ความรู้ นวัตกรร ข้อมูล ศูนย์พยากรณ์การเกิดโรค) 5. พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ 8. พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทาง PMQA 9. สร้างค่านิยม ส่งเสริมขวัญกำลังใจและระบบสวัสดิการ 10. เพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถด้าน IT เจ้าภาพหลัก ............................................................................................

2554-2557 ตัวชี้วัดผลสำเร็จและเป้าหมาย มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ค่าเป้าหมาย (ปี 2554-2557) มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 1. จำนวนผลงานวิชาการ/นวัตกรรมที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่ใน วารสาร/เวทีวิชาการระดับประเทศขึ้นไป ………เรื่อง 2. ร้อยละของผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่มีการนำไปใช้ประโยชน์/ ผลักดันให้เกิดนโยบายในการป้องกัน ควบคุมโรคระดับพื้นที่ ร้อยละ ....... 3. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาที่สามารถคงสภาพการ ดำเนินการเชิงระบบได้ ร้อยละ...... 4. ร้อยละความครอบคลุมของเครือข่ายระดับอำเภอที่ดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงระบบได้ตามมาตรฐาน ร้อยละ....... 5. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ระดับ........

2554-2557 ตัวชี้วัดผลสำเร็จและเป้าหมาย (ต่อ) คุณภาพการให้บริการ ค่าเป้าหมาย (ปี 2554-2557) คุณภาพการให้บริการ 6. ร้อยละของผลงานวิชาการที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ จริยธรรม ร้อยละ ....... 7. จำนวนผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่เครือข่ายนำไปขยายผล/ ถูกนำไปใช้อ้างอิง ..........เรื่อง 8. ร้อยละของผลงานวิชาการ/นวัตกรรม ที่เครือข่ายมีส่วนร่วมในการ พัฒนาวิชาการ 9. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาที่สามารถดำเนินการเชิงระบบ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 10. ร้อยละความพึงพอใจของเครือข่ายต่อการส่งเสริมสนับสนุนให้ ดำเนินการเชิงระบบ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิชาการ ระดับ........ 12. ระดับความสำเร็จของการสร้าง พัฒนา และใช้การจัดการเชิงระบบใน หน่วยงานและเครือข่าย

2554-2557 ตัวชี้วัดผลสำเร็จและเป้าหมาย (ต่อ) ค่าเป้าหมาย (ปี 2554-2557) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (ต่อ) 13. ระดับความสำเร็จของการพัฒนากระบวนการทำงานให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน ระดับ....... 14. ระดับความสำเร็จของการพัฒนากระบวนการสื่อสารภายใน และ ภายนอกองค์กร 15. ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน/การบริหารความเสี่ยง พัฒนาองค์กร 16. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ฐานข้อมูล 17. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency) 18. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสู่การเป็นองค์กรแห่งการจัดการความรู้ 19. ร้อยละของบุคลากรที่ปฏิบัติตามค่านิยมองค์กร ร้อยละ ....... 20. ร้อยละของบุคลากรที่มีความผาสุกและพึงพอใจต่อบรรยากาศองค์กร

ปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านผู้บริหาร ผู้บริหารทุกระดับในสังกัด สคร.5 จะต้องติดตาม สั่งการ และอำนวยความสะดวกให้หน่วยงานและบุคคลที่อยู่ภายใต้การดูแลปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ โครงการ หรือกิจกรรมที่กำหนดไว้ รวมทั้งการให้คำปรึกษา คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนเพื่อให้สามารถดำเนินการตามกลยุทธ์ได้ รวมทั้งการปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบต่างๆ (ที่อยู่ในขอบเขตที่แก้ไข ปรับปรุงได้) ที่อาจเป็นอุปสรรคหรือทำให้การดำเนินงานไม่คล่องตัวหรือล่าช้า ปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงานจะต้องศึกษาทำความเข้าใจแผนยุทธศาสตร์ของ สคร.5 เพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดและศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ในส่วนของกลยุทธ์ โครงการ หรือกิจกรรมในส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ ซึ่งอาจจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และวิธีการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับการดำเนินงานตามกลยุทธ์ รวมทั้งต้องพัฒนาสมรรถนะของตนให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามโครงการ หรือกิจกรรมที่กำหนดไว้

ปัจจัยด้านกระบวนการทำงาน กลุ่ม/ฝ่าย/งาน/ศตม. ควรจะได้มีการจัดทำหรือปรับปรุงกระบวนงาน รวมทั้งวิธีการทำงาน ที่อาจเป็นอุปสรรคหรือทำให้การดำเนินงานไม่คล่องตัวหรือล่าช้า ปัจจัยด้านการติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามกลยุทธ์ โครงการ หรือกิจกรรม จะต้องมีการติดตามและประเมินผล โดยกำหนดระบบการรายงานผลการดำเนินงานเป็นระยะๆ ทั้งระหว่างดำเนินการ และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ รวมทั้งให้ความสำคัญต่อการประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) ปัจจัยด้านการถ่ายทอดตัวชี้วัดและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ของ สคร.5 จะต้องถ่ายทอดไปยังกลุ่ม/ฝ่าย/งาน/ศตม. และระดับบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลจะต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ซึ่งอาจจำเป็นต้องปรับปรุงเครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงานและวิธีการประเมินผล

ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องนำไปใช้ในการดำเนินงานตามกลยุทธ์ทั้งในด้านการติดต่อสื่อสาร ประสานงาน หรือการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศ จึงควรได้รับการสนับสนุนให้มีจำนวนเพียงพอและมีความทันสมัย ปัจจัยด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์ของ สคร.5 ควรได้รับการเผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้รับบริการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและการสนับสนุนในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์

ขอบคุณครับ