นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ความหมายและกระบวนการ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔ โดย นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

“ โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555 ” ที่มา สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 1 ธันวาคม 2554

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 3

สภาพการณ์เปลี่ยนแปลง การระบาดของโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคชิคุนกุนยา การเดินทาง คมนาคมสะดวก โลกาภิวัต สภาพสุขภาพของประชาชน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค การตื่นตัวในการมีส่วนร่วมของประชาชน ท้องถิ่นมีบทบาทในป้องกันควบคุมโรค รัฐธรรมนูญฉบับปี2550 ระบุว่าเป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น การพัฒนาระบบบริการ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

แนวคิดการพัฒนา ให้ท้องถิ่นรู้ปัญหาของตนเอง วางแผนร่วมกัน รวมทรัพยากรและใช้ร่วมกัน เฝ้าระวังโรคในระดับพื้นที่ ตอบโต้การควบคุมโรคทันที

“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 6

กรอบความคิด : พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรคเข้มแข็ง คุณลักษณะที่ชี้บ่ง ความเข้มแข็งและยั่งยืน ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบคุมโรคที่เป็นปัญหา ระดมทรัพยากรมาดำเนินการ จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรค บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ อนาคต ปัจจุบัน ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูลทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไขตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” * ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 - 58 กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย.53 อิมแพ็ค เมืองทอง MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” จัดทำแผนแม่บท 54 - 58 เชิดชู ให้รางวัล 12 -13 กย. 54 ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของ ผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผู้ว่าฯ 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5. * กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี ด้านนโยบาย อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ให้ สคร. สสจ สสอ. สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 จากทั้งหมด 9,750 แห่ง สคร. สื่อสาร แนวทาง การประเมินผล สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/เชียงใหม่/นครศรีธรรมราช) ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์แนวทางการประเมินฯ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด * KM Learning ระดับประเทศ * M&E will focus on accreditation ด้านวิชาการ สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร ติดตาม สะท้อนผลงาน สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร.ให้ชัดเจน

กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 2555 *ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ปี 54 ปี 2553 - 2554 ปี 2555 : กรมฯ จัดทำคำสั่ง/อนุมัติโครงการแล้ว ปี 2556-2558 ผลักดันเป็นตัวชี้วัดของผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผวจ. 3. เชิดชู ให้รางวัล : ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5. * กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี ด้านนโยบาย กองแผนงานเป็นหลัก ข้อสังเกต อุทกภัย 54 อำเภอควบคุมโรคฯ ส่งผลต่อความพร้อมของระบบเฝ้าระวังฯ อย่างไร เช่น การมีส่วนร่วมของเครือข่าย, ข้อมูลฯ , SRRT ตำบล, ผลการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุง เตรียมพร้อมในสถานการณ์ปกติและภาวะฉุกเฉินในอนาคต อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด * M&E will focus on accreditation * KM Learning ระดับประเทศ ด้านวิชาการ KM / สน,ระบาดฯ เป็นหลัก สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร. ให้ชัดเจน ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สน.เผยแพร่ฯเป็นหลัก

ขอบคุณครับ