กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การดูแลระยะตั้งครรภ์
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
Pass:
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน การพัฒนาคุณภาพการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์อย่างครบวงจร กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน นางสาวกอบกุล สุคนธวารินทร์นางสาวจุลินดา พรมเสน นางนุสราพร ณ ราช นางสาวสุรีรัตน์ สิทธิชัย

ความเป็นมาปัญหา ปี38 เริ่มค้นหาโรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงพบอุบัติการณ์เกิดDM in preg ร้อยละ 3.49 ความครอบคลุมของการคัดกรองเบาหวานระยะตั้งครรภ์ร้อยละ 68.94 (ปี48) พบมารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์โดยขาดการรักษาเป็นสาเหตุทำให้ทารกตายเปื่อยในครรภ์ จำนวน 1 ราย(ปี 50 ) และ 2 ราย (ปี 51 ) โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 498 ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน 448 ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี 2548 เป็น 3,546 บาท ในปี 2549 ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั

ความเป็นมาปัญหา ▲ ได้สุ่มติดตามข้อมูลเวชระเบียน(OPDcard)การนัด F/U หญิงหลังคลอดที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จำนวน 45 ราย พบว่า - ไม่ได้รับการติดตาม 40 ราย(88.89%) - ได้รับการติดตามรักษา 5 ราย(11.11%) ▲เป็นโรคเบาหวาน Type 2 5 ราย - ควบคุม FBS ไม่ได้ 2 ราย โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 498 ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน 448 ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี 2548 เป็น 3,546 บาท ในปี 2549 ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั

ความเป็นมาปัญหา ▲ผู้ป่วยที่เหลือได้ติดตามมาเจาะเลือดทั้ง 40 ราย ▲ผู้ป่วยที่เหลือได้ติดตามมาเจาะเลือดทั้ง 40 ราย -พบ DM 11 ราย(27.50%) -พบImpaired GTT 13 ราย (32.50%) -พบระดับน้ำตาลปกติ 16 ราย (40.00%) ▲ ค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานเฉลี่ย/ราย ปี50 ผู้ป่วยนอก 1147.50 บาท/ราย ผู้ป่วยใน 6034.15 บาท/ราย โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 498 ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน 448 ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี 2548 เป็น 3,546 บาท ในปี 2549 ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั

สรุปปัญหา ทารกตายเปื่อยจากสาเหตุเบาหวานขณะตั้งครรภ์ขาดการคัดกรองและขาดการรักษา ขาดการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ GDM หลังคลอด โรงพยาบาลน่านยังไม่มีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนและเป็นในทางเดียวกัน

1. เพื่อพัฒนาหาแนวทางการดูแลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหาแนวทางการดูแลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2. เพื่อศึกษาการรับรู้และ พฤติกรรมการดูแลตนเองของ สตรีหลังคลอดที่มีภาวะ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ 3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการ ติดตามสตรีหลังคลอดที่มีภาวะ เบาหวานขณะตั้งครรภ์

ตั้งแต่ 1 เมษายน – 30 กันยายน 2551 ระยะการศึกษา ตั้งแต่ 1 เมษายน – 30 กันยายน 2551 ระยะที่ 1: ใช้การสัมภาษณ์ เชิงลึก กลุ่ม ตัวอย่างได้แก่ แพทย์ พยาบาลห้องฝากครรภ์ พยาบาลชุมชน นักโภชนากร เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ทั้งหมด 18 ราย นำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาหาแนวทาง ในการคัดกรอง การวินิจฉัย การ รักษา สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ GDM

กำหนด Risk for GDM ในรพ.น่านและเครือข่าย 1 อายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป 6 เคยคลอดทารก น้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม 2 อ้วน หรือ BMI ก่อนตั้งครรภ์ > 27 kg/m2 สูง =……. ซม /น้ำหนัก...........ก.ก / BMI=…….. 7 เคยคลอด ทารก ตายคลอด ( stillbirth ) 3 ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (พ่อ แม่ พี่ น้อง) 8 ท้องนี้มีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์(PIH) 4 ครรภ์ก่อนเป็น GDM (Class A 1 และ A 2 ) 9 ท้องนี้มีภาวะครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) 5 เคยคลอดทารกพิการโดยไม่ทราบสาเหตุ 10 พบน้ำตาลในปัสสาวะตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป

พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% < 140mg% 100 gm OGTT ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2

พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% 100 gm OGTT ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2

พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% < 140mg% 100 gm OGTT ปกติ ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2

ความครอบคลุมของการคัดกรอง GDM รพ.น่าน

จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ปี 51-55 ราย

ระยะที่ 2 ▲ ศึกษาการรับรู้และพฤติกรรมของ สตรีหลังคลอดที่มีภาวะ GDM: โดย การสัมภาษณ์ เชิงลึก และสนทนา กลุ่ม จำนวน 17 ราย คือ สตรี GDM หลังคลอด ที่อาศัยในเขต อำเภอ เมืองน่าน จังหวัดน่าน วิเคราะห์ความถูกต้องของข้อมูล โดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาแบบ สามเส้า

ข้อค้นพบ ▲ สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ขาดความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่ถูกต้อง เช่น บริโภคอาหารไม่ถูกสัดส่วน ออกกำลังกายไม่ถูกต้อง ▲ เจ้าหน้าที่ขาดระบบการติดตามระดับน้ำตาลหลังคลอด

พัฒนาระบบการติดตามดูแลสตรี หลังคลอดที่เป็น GDM ระยะที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามดูแลสตรี หลังคลอดที่เป็น GDM ▲ คืนข้อค้นพบ ให้กับ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ▲ ร่วมประชุมกับเครือข่าย โรงพยาบาลน่าน และให้ความรู้ เจ้าหน้าที่เรื่องภาวะเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์และการติดตามหลังคลอด ▲ จัดทำแนวทางการติดตาม FBS 6 สัปดาห์หลังคลอด

พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้“ DM in preg ” ▲ 18กันยายน2551 แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่านและเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย อ.เมือง ข้อเสนอแนะให้ผู้ดูแลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและให้สอดคล้องกับบริบท

ให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสตรีหลังคลอด ที่มีภาวะ GDM ทุก 1 ปี สาธิตการออกกำลังกาย และรับประทานอาหาร ความรู้อยู่ระดับปานกลาง ความพึงพอใจ > ร้อยละ80

บัตรนัดตรวจภาวะเบาหวานหลังคลอด(เฉพาะGDM) นัดตรวจที่ รพ.น่าน  นัดตรวจที่อื่น...................... วันที่นัด.................................................................. การเตรียมตัวก่อนการตรวจ 1.งดอาหารและน้ำตั้งแต่เที่ยงคืนก่อนวันตรวจ 2.เจาะเลือดก่อนอาหาร(FPG) 3.ดื่ม50%Glucose 150 มล. 4.เจาะเลือด(PG) หลังดื่ม Glucose 2ชั่วโมง ผลการตรวจ FPG=……………mg% 2h PG=………….mg% สรุปผล  ปกติ(FPG<110mg% , 2h - GTT<140 mg%)  Impaired GTT(FPG=110-125mg% หรือ 2h - GTT=141-199 mg%)  DM (FPG>126mg% หรือ 2h GTT>200 mg%)

FLOW การติดตาม GDM หลังคลอด รพ.ชุมชน นัด FUที่รพ.น่าน คลินิก นัดเจาะที่คลินิก หรือรพ.ชุมชน ผู้ป่วย GDM คลอดรพ.น่าน FU.6 wks…..> FBS ทุก1ปี ............> DTX /FBS

ร้อยละติดตามระดับ FBS พบ DM type 2 ปี52-55= 2, 4,4,และ 2 ราย

บทเรียนที่ได้รับ การค้นหาภาวะ GDM.ในสตรีตั้งครรภ์อย่างครอบคลุม และให้การรักษา จะสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะ ทารกตายปริกำเนิดได้ การรับรู้และความเชื่อที่ถูกต้องจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะสามารถป้องกันความเสี่ยงในการเกิดเบาหวานในอนาคตได้และกลุ่มเสี่ยงควรมีการติดตามทุกปีเมื่อพบสามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที

ขอบคุณ...