บทที่ 11 การประเมินความเป็นไปได้ของโครงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
QC: CPN Vendor System Oct 28, 2010 Nakarin P..
Advertisements

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Machine and Labor Requirement
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ 7 การควบคุม.
แนวทาง การทำงานในเชิงรุก
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
การวางแผนและกำหนดเป้าหมาย (Organizational Planning and Goal Setting)
Lesson 10 Controlling.
OUTCOME MAPPING วัดให้ง่าย วัดให้ชัด วัดที่พฤติกรรม
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร II
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Project Management.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Work Shop การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ มฟล. (VFM)
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การเขียนโครงการ.
SCC : Suthida Chaichomchuen
PresentBySamurai กลยุทธการบริหารความรูของ Microsoft.
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
งบลงทุน Capital Budgeting
การบริหารโครงการ (Project anagement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การวิเคราะห์ Competency
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
Introduction to Earned Value Analysis.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
Week 5 : การบริหารโครงการ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
M & E 2558 ทพ.นิติโชติ นิลกำแหง สสจ.ชัยภูมิ 15 ตค.2557.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
หลักการแก้ปัญหา
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
PERT/CPM.
คณะผู้จัดทำ นายวรยุทธ แช่มชูศรี นางสาวสุชาดา ชัยเป็ง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการก่อสร้างอุโมงค์และการทำงานในอุโมงค์ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 ตุลาคม 2553.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 271/ 2553 เรื่อง กำหนดชั้นและรายชื่อของสาร ที่เป็นอันตราย และมาตรฐานการ ปล่อยทิ้งสารที่เป็นอันตราย.
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
การค้นในปริภูมิสถานะ
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การบริหารธุรกิจ MICE Chapter 7 TD 451.
Controlling 1.
บทที่ 2 การวางแผนและการบริหารโครงการ (Project Planning and Management)
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 การประเมินความเป็นไปได้ของโครงงาน Progress & Performance Measurement & Evaluation

The project control process มีเพื่อตอบคำถามถึง สถานภาพในปจจุบันทั้งดานเวลาและคาใชจาย จะตองใชเงินเทาใดจน project เสร็จ เมื่อใด project จะเสร็จ มีปญหาใดที่ตองรีบดำเนินการหรือไม Cost หรือ schedule ที่เกินจะเกิดกับกิจกรรมใด เมื่อไร ตองจายเงินเพื่ออะไรบาง ถามี cost ที่ overrun ในระหวาง project จะพยากรณ overrun เมื่อจบ project ไดไหม ปญหาที่คาดวาจะเกิด แกไขทันหรือไม

• ระบบที่เรียกวา Earned value (EV) จะชวยตอบคำถามนี้ ซึ่ง validity ของรระบติดตามขึ้นอยูกับความถูกตองและความเชื่อถือไดของขอมูลวามีมากนอยแคไหน ประโยชนของ EV system ขึ้นกับขอมูล WBS , resource , time and cost estimate , time-phased budget ของแตละงาน และการประมาณการ % complete ที่เปนจริงและถูกตองเทาที่จะทำได

การวัดและประเมิน performance ตองการ control process 4 ขั้นตอนตอไปนี้ 1. Setting a baseline plan จะให element ที่วัด performance ซึ่ง derived มาจาก cost และ ขอมูลดานเวลาที่ไดจาก WBS (งาน เวลา งบประมาณ) ซึ่งแตกงานออกมาเปน WP ซึ่งมาจับกับ deliverable และ organization unit และลำดับงานจาก network และ resource scheduling decision 2. Measuring progress and performance เชิงปริมาณคือ time และ budget ไมดูคุณภาพ การวัดเวลาทำงาย ดู critical path เสร็จทันเวลา/ชากวา/เร็วกวา แตการวัด performance เทียบกับ budget (เชน เงิน unit in place ชั่วโมงทำงานของคนงาน) วัดยาก EV จึงมีวิธีการประมาณการ performance against a time-phased budget โดยทำเปน budget cost of work performed (BCWP)

3. Comparing plan and actual 4. Taking action ถามีการ deviate จาก plan อยางมีนัยสำคัญตองทำ corrective action เพื่อให project กลับมาตา plan เดิม หรือ plan ที่ revised ใหม บางกรณีอาจถึงตองเปลี่ยน scope ซึ่งมีผลทำให baseline plan เปลี่ยนดวย

Monitoring time performance • Tool : Gantt Chart ซึ่งเปนที่นิยมใช และเขาใจงาย ทำใหมองเห็นภาพรวมของ project status ณ วันที่รายงานผลไดอยางรวดเร็ว • รูป Baseline Gantt Chart แทงบน – แสดงถึงแผนที่วางไว แทงลาง – งานที่ทำเสร็จจริง ณ วันนั้ • Control chart ก็เปนเครื่องมือที่ใชติดตามความคืบหนาของ project โดยมีการ plot ความแตกตางระหวาง schedule line บน critical path ณ วันที่รายงาน กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงบน critical path ดังรูป ซึ่งสามารถใชเตือนไดวาตอนนี้มีแนวโนมเป็นอยางไร ควรปรับตัวอยางไร

Monitoring cost system • Tradition : compare actual against budget • Pitfall : ดูแตตัวเงิน ไมไดดูวางานที่สำเร็จสอดคลองกับเงินที่จายไปหรือไม ตัวอยาง : สมมติวาวางแผนวาจะใชเวลา 10 เดือนใหงานเสร็จ และตั้ง budget วาแตละเดือนมีคาใชจาย $200,000/ month ดังนั้น 10 เดือน ควรมีคาใชจาย $ 2.0 million แตเมื่อผานไป 5 เดือน ปรากฏวาใชเงินไปแลว $1.3 million ซึ่งความเปนจริง อาจเปนเพราะ 1) ทำงานไดเร็วกวากำหนด 2) ทำงานชาจริง และใชเงินเกินดวย 3) ทำงานไดตามเวลา แตใชเงินเกิน

An Integrated Cost / Schedule System • เปนวิธีการปรับจากวิธีแรก เพื่อใหการติดตาม Project มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยหาระบบที่วัดไดทั้งตนทุนที่ใชและปริมาณงานที่เกิด โดยระบบประสมประสานนี้เรียกวา Earned value • Three data elements - BCWS : Budgeted cost of the work schedule ตนทุนที่วางไว - BCWP : Budgeted cost of the work performed หรือ earned value ตนทุนที่วางไวสำหรับงานที่ทำแลว หรือปริมาณงานที่เกิดขึ้นจริงตามเงินที่จายไป มีคา

ACWP : Actual cost of the performed • Variance BCWP = BCWS x percent of work actually completed ACWP : Actual cost of the performed • Variance Schedule variance : ผลตางระหวาง EV ที่เสร็จกับ baseline schedule SV = BCWP – BCWS Cost variance : ผลตางระหวาง EV และ actual cost ของวันที่งานเสร็จ CV = BCWP – ACWP

การแปลผล คา + แสดงวา budget ที่ตั้งไวมากกวาที่ใชจริง เปนผลลัพธที่เราตองการ และตองดูดวยวาเปนเพราะอะไร CV ดูวาตนทุนที่ใชทำงานเสร็จแลว มากกวา หรือนอยกวา ที่วางไว ดูชวงเวลาใดชวงเวลาหนึ่ง SV วัดปริมาณของงานออกมาเปนจำนวนเงิน ไมใชเวลา โดยจะบอก status ของงานวาชาหรือเร็วกวากำหนด

VAC = BAC – EAC

• เสนกลางคือ baseline เปนการวางแผนไวลวงหนากอนที่เราจะทำโครงการ จากรูปเสร็จในเวลา 45 วัน เงินทั้งหมดควรใช $400 เราอยูวันที่ 25 ตองการดูความคืบหนาของโครงการ • ถาดูแต cost คือเสนบน ตนทุนเกิดขึ้นจริง $340 (85% ของตนทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น) แสดงวาใชมากกวาที่ควรจะเปน (ควรเปน $300 , 75%) หรือแสดงวาเราทำงานชาไป 5 วัน (เพราะเงินเทานี้ควรทำงานได 30 วัน) CV = BCWP – ACWP = $200 - $340 = - $140 over budget SV = BCWP – BCWS = $200 - $300 = - $100 behind schedule

Developing a status report

Assumption 1. แตละ cost account มี WP อันเดียว แสดงเปนกิจกรรมบน network 2. ใช ES เปนตัวเริ่มตนในการคิด 3. คา baseline value เปน linear 4. from the moment work on an activity begins , some actual costs will be incurred each period until the activity is completed

จากตารางสรุปไดวา CV = +$12 , variance at completion (VAC) = -$17

Indexes to monitor process • Performance index Cost (CPI) Schedule (SPI) > 1.00 Under cost Ahead of schedule = 1.00 On cost On schedule < 1.00 Over cost Behind schedule Indexes to monitor process • Performance index 1. CPI : Cost performance index = BCWP / ACWP 2. SPI : Scheduling performance index = BCWP / BCWS จากขอมูลในรูปดานบน CPI = BCWP / ACWP = 42/30 = 1.4 under cost ทุกๆ $1 ที่จายไปกอใหเกิดงานที่เสร็จแลวมีมูลคา $1.4 ชอบ SPI = BCWP / BCWS = 42/34 = 1.24 ahead of schedule

Other control issues • Baseline จริงๆ แลวไมควรเปลี่ยน เปลี่ยนไดก็ตอเมื่อจำเปนจริงๆ -ถาไมเปลี่ยนจะ fail หรือ เปลี่ยนแลวใหผลดีขึ้น • Control สิ่งที่เกิดจริง กับ plan มักไมตรงกัน ควรทำ contingency fund เผื่อไวใชในยามจำเปนและใชเมื่อเปน formal (ไมใชสุมสี่สุมหา) • Scope creep – การที่ลูกคาเรียกรองใหเพิ่มทีละนิดละหนอย แตในที่สุดรวมๆ ดูแลวมาก เปนเหตุการณที่เกิดขึ้นโดยปกติในชวงเริ่ม project ซึ่งตองควรระวัง