การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่ การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2548 ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2548
ระเบียบนี้ออกโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี - ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ (ไม่ใช้บังคับแก่รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ ฯลฯ)
ข้อยกเว้น ๑. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ระเบียบฯ กำหนดให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการ ๒. มีกฎหมาย ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ หรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ กำหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณ ไว้เป็นอย่างอื่นให้ถือปฏิบัติตามนั้น
ความหมายของงานสารบรรณ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร - การจัดทำ - การรับ - การส่ง - การเก็บรักษา - การยืม - การทำลาย
แบ่งออกเป็น ๖ ประเภท ได้แก่ ๑. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือราชการ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่จัดทำขึ้นและใช้เป็นหลักฐานในราชการ แบ่งออกเป็น ๖ ประเภท ได้แก่ ๑. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
หนังสือราชการ ๒. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก ๓. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ
หลักฐานในราชการ ๖. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจาก หนังสือราชการ ๔. เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็น หลักฐานในราชการ ๕. เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ ๖. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจาก ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ การติดต่อราชการนอกจากจะดำเนินการโดยหนังสือที่เป็นเอกสาร สามารถดำเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ ภาคผนวก 6 ท้ายระเบียบฯ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการรับส่งข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของส่วนราชการที่นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในราชการ
ระบบสารบรรณที่ใช้ในปัจจุบัน
ระบบ GIN ระบบเครือข่ายแห่งอนาคตของภาครัฐ
ทำไมถึงต้องใช้ GIN มีความปลอดภัยสูง ลดความซ้ำซ้อนในการลงทุน ลดภาระ มีเจ้าหน้าที่ มีการติดตาม สามารถเชื่อมโยง กับระบบสนับสนุน