อนาคตเศรษฐกิจไทย ภายใต้การค้าเสรี หลังปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Research Mapping.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
Free Trade Area Bilateral Agreement
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
RNN Thailand Open Platform “ คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของการปฏิรูป ”
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนาคตเศรษฐกิจไทย ภายใต้การค้าเสรี หลังปี 2558 สิ่งแวดล้อมกับการเปิดเสรี ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม (GSEI) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 พฤศจิกายน 2556

แนวการอภิปราย และวิเคราะห์ 1.1 ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ? ประเทศไทย ASEAN 1.2 ข้อเสนอแนะ 1. กิจกรรมทางเศรฐกิจที่ขยายตัวขึ้น [การค้า การบริการ และการลงทุน] 2. การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียน & Environmental Governance 2.1 ความร่วมมือในระดับอาเซียน 2.2 ความร่วมมือในระดับประชาคมโลก

การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ผลกระทบ Scale Effect Composition Effect Technology Effect Ref: Grossman & Krueger (1993) การขยายระบบ เกษตรเชิงเดี่ยว - ผลกระทบต่อ Biodiversity (Ref: Global Biodiversity Outlook 3 (2010) - Climate Change Adaptation ข้อเสนอ การจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร & ความหลากหลายทางชีวภาพ & Climate Change Adaptation เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนระบบการเกษตรยั่งยืนรูปแบบต่างๆ

การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนย้ายตำแหน่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของปัญหาสิ่งแวดล้อม “การแบ่งรับภาระปัญหานิเวศ” (Ecological Division of Labor) ตัวอย่างเช่น Off-shoring GHGs, อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์ การครอบครองทรัพยากรในรูปอาณานิคมแบบใหม่ Deregulation + Re-regulation  เช่น สิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต Ref : Planet Dialectics: Explorations in Environment and Development. Wolfgang Sachs , 1999

การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Deregulation + Re-Regulation MEAs ความตกลงพหุภาคี ด้านสิ่งแวดล้อม WTO Regionalization FTAs กฎหมายภายในประเทศ 1 2 3 5 WTO-Plus MEAs-Minus 4

การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนย้ายตำแหน่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของปัญหาสิ่งแวดล้อม “การแบ่งรับภาระปัญหานิเวศ” (Ecological Division of Labor) ตัวอย่างเช่น Off-shoring GHGs, อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์ การครอบครองทรัพยากรในรูปอาณานิคมแบบใหม่ Deregulation + Re-regulation  เช่น สิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต, การคุ้มครองการลงทุน ข้อเสนอ กติกาใหม่สำหรับการลงทุน (FDI) เช่น Consumption-Based Approach , GHGs Impact Assessment , Value-Added Assessment การเจรจา FTA โดยเฉพาะกับ EU, TPP

การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การค้าเสรีนิยมใหม่ & ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ข้อเสนอ การปรับโครงสร้างการผลิตสู่ ระบบเศรษฐกิจสีเขียว ที่เกิด Decoupling ระหว่างการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ กับการ ดูแลสิ่งแวดล้อม การปล่อย คาร์บอนที่ลดลง

ข้อเสนอแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในอนาคต การปฏิรูป “ระบบกฎหมาย” ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย การรื้อ-สร้าง “เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม” การใช้ “ชุดเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม” พัฒนาและใช้ Sustainable Development Goal & Indicators นวัตกรรมเพื่อส่งเสริม Green Consumer and Green Life

ปัญหาเชิงโครงสร้างของระบบกฎหมายสิ่งแวดล้อมและรัฐธรรมนูญ ความขัดแย้ง/ ไม่สอดคล้องระหว่าง กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ กับหลักการ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ กฎระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานรัฐ พระราชบัญญัติต่างๆ (ด้านสิ่งแวดล้อม 50 ฉบับ) รัฐธรรมนูญ โครงสร้างความขัดแย้ง องค์กรชุมชน /เอ็นจีโอ/นักวิชาการ พลเมืองที่ตื่นตัว องค์กรรัฐ หน่วยงานราชการ

กฎหมายที่ควรเร่งรัดจัดทำและปฏิรูป พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 พ.ร.บ. สิทธิชุมชนกับการร่วมจัดการฐานทรัพยากร พ.ร.บ. การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย สาธารณะ พ.ร.บ.เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม กฎหมายเฉพาะด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

การรื้อ-สร้าง เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม

การรื้อ-สร้าง เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม

การรื้อ-สร้าง เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม การ “รื้อ-สร้าง” โครงสร้างและระบบ “EIA & EHIA” เริ่มต้นจากระบบ “การติดตามและประเมิน EIA” เน้นระดับโครงการ แยกส่วนจาก FS รวมศูนย์ ขาดการมีส่วนร่วม 1.หลักการและระบบ เจ้าของของโครงการขาดความเข้าใจ 2.การจัดทำ ผู้จัดทำขาดความเป็นอิสระ ฯลฯ ความล่าช้า โครงการรัฐ –เอกชน ปัญหาของการพิจารณา 3.การพิจารณา 4.การติดตาม การติดตาม การตรวจสอบ การประเมิน ปัญหาระบบ EIA ,ปาริชาติ ศิวะรักษ์ (2545)

การรื้อ-สร้าง เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ “การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์” ให้เกิดผลจริง (SEA : Strategic Environmental Assessment)

การรื้อ-สร้าง เครื่องมือช่วยตัดสินใจนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ “การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์” ให้เกิดผลจริง (SEA : Strategic Environmental Assessment)

Sustainable Development Goal & Indicators ข้อเสนอ Sensible Indicators เวลาที่ใช้ในการเดินทาง อัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง, หัวใจ, ความดัน, เบาหวาน การประกาศเขตควบคุมมลพิษ Green GDP Ecological Footprint

ASEAN & Multi-level Governance Global Agreement เกิดขึ้นได้ยาก New MEAs ? WTO – Doha Round ? World Env. Organization ? Global Level Regional Level National Level Sub-National Level ASEAN Env. Institution ?? EU-Thai FTA, TPP, …… อำนาจรัฐถูกถ่ายโอนไปยังระดับเหนือรัฐ และระดับต่ำกว่ารัฐ รวมทั้งNon-state Actors : ตลาด, NGOs องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น Ref : Multi-level Governance. Gary Marks, 1992