แนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 22 ธันวาคม 2551 ณ ห้อง 30314/2 ชั้น 3 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
เจตนารมณ์ของการประเมิน ความคุ้มค่าฯ เจตนารมณ์ของการประเมิน ความคุ้มค่าฯ ตามมาตรา 22 ของ พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
“ให้ สศช. และ สงป. ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี สำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไป หรือยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป....”
การประเมินความคุ้มค่า : การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งผลสำเร็จ และผลกระทบทางลบ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป ประเมินว่าการปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อประชาชน/ภาครัฐ มากหรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด วัตถุประสงค์ เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป วัตถุประสงค์
กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประสิทธิผล ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร/ กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ ประสิทธิภาพ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่คาดหมาย ผลกระทบ
Performance Audit - INTOSAI’s Model Commitment Purpose defined Input Resources assigned Action/ Production Action done Output Services provided Outcome Objective met ประหยัด ทำให้ค่าใช้จ่ายในการใช้ปัจจัยนำเข้าลดลง ประสิทธิผล ความสำเร็จในการตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนด ประสิทธิภาพ ผลิตสินค้าหรือบริการให้ได้มากที่สุดจากทรัพยากรเท่าที่มีอยู่อย่างจำกัด ที่มา : INTOSAI, Implementation Guidelines for Performance Auditing: Standards and guidelines for performance auditing based on INTOSAI’s auditing standards and practical experience, p.14. (อ้างอิงโดยสถาบันนโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ที่ปรึกษาโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ)
ความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่า การจัดทำคำรับรองฯ (กพร) เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กลุ่มภารกิจ 1 ผลลัพธ์ ต้นทุนต่อหน่วย Cost-effectiveness ผลประโยชน์ของภารกิจ -อัตราส่วนต้นทุนค่าใช้จ่าย -NPV -IRR -ผลกระทบอื่น ๆ ที่ประเมิน เป็นมูลค่าไม่ได้ กระทรวง กลุ่มภารกิจ 2 เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ประเมินความเหมาะสมของ งาน/โครงการ ก่อนดำเนินการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์กร (Balanced Scorecard) สำนักงานปลัดกระทรวงฯ เป้าประสงค์ ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต สำนักงาน ก. เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ การประเมินความคุ้มค่า : ดำเนินการทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติภารกิจ โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ตามคำรับรองฯ (กพร.) บวกกับตัวชี้วัดผลลัพธ์/ผลกระทบและตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า โครงการที่สำคัญ ต่อภารกิจ หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏ บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญ ต่อภารกิจ
ตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่า ภารกิจ ตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดเพิ่มเติม บริการสาธารณะ (ประชาชนได้ ประโยชน์ โดยตรง) ประสิทธิภาพ ต้นทุนต่อหน่วย สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิผล ความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์ ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) บริการด้าน การพัฒนา และความมั่นคง ประโยชน์โดยอ้อม) ผลกระทบ ต่อประชาชน ต่อเศรษฐกิจ ต่อสังคม ต่อสิ่งแวดล้อม Benefit-Cost Ratio ผลสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้งบประมาณ (PART) ภารกิจที่เป็นโครงการ ประเมินตัวชี้วัดหลักและเพิ่มเติม
แ ผ น ก า ร ดำ เ นิ น ง า น ขยายผล 3 กระทรวงนำร่อง มหาดไทย อุตสาหกรรม สาธารณสุข วางกรอบแนวทาง จัดทำรายละเอียดแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ 18 ตุลาคม 2548 ทุกกรมใน 17 กระทรวงเริ่มดำเนินการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจ ทดลองประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของ สศช. 2547-48 2549 2550-51 2552
การดำเนินงานของ สศช. ในปีงบประมาณ 2550 สศช. ดำเนินโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ โดยวิธีจ้าง ที่ปรึกษา (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) ดำเนินการระหว่าง 10 เดือน (26 กรกฎาคม 2550 – 25 พฤษภาคม 2551)
สาระสำคัญของโครงการฯ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อริเริ่มให้เกิดการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจและการจัดทำรายงานในหน่วยงานนำร่อง เพื่อทดสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในการประเมินความคุ้มค่าในหน่วยงานภาครัฐ 2. เพื่อปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์ตัวชี้วัด เอกสารคู่มือ แบบรายงาน เพื่อให้ ส่วนราชการสามารถนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. เพื่อวางกรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ ที่ครอบคลุมการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 4. เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.
ขอบเขตการดำเนินงาน สร้างความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานนำร่องในเรื่องกรอบความคิดการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ หลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด วิธีการประเมิน และการจัดทำรายงาน 2. เป็นที่ปรึกษาหน่วยงานนำร่องระดับกระทรวง 3 กระทรวง ในการประเมินความคุ้มค่าด้วยตัวเองตามแนวทางที่กำหนด รวมทั้งการวิเคราะห์ผลและการจัดทำรายงาน 3. พัฒนาและปรับปรุงคู่มือและแบบรายงานเพื่อใช้ในการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ โดยให้มีรูปแบบที่หลากหลายตามลักษณะภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ 4. จัดทำแนวทางการปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่า และแนวทางการขยายผล ต่อ
ขอบเขตการดำเนินงาน ต่อ 5. ศึกษาพัฒนากรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะระดับ กรม กระทรวง และระดับประเทศ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และครอบคลุมทั้งการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 6. ให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.
การเรียนเชิญหน่วยงานระดับกระทรวงเป็นหน่วยนำร่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาหน่วยงานนำร่อง เป็นตัวอย่างเทียบเคียงสำหรับหน่วยงานอื่นได้ ความพร้อมของข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ ลักษณะงานประเมินด้วยตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน ความสมัครใจของหน่วยงาน การเรียนเชิญหน่วยงานระดับกระทรวงเป็นหน่วยนำร่อง กลุ่ม เศรษฐกิจ กลุ่ม บริหารฯ กลุ่ม สังคม ก.อุตสาหกรรม ก.สาธารณสุข ก.มหาดไทย
กรอบการดำเนินงานในเบื้องต้น เป็นการประเมินในภาพรวม โดยเลือกประเมินเฉพาะภารกิจหลัก และเลือกเฉพาะงาน/โครงการสำคัญ :- ครอบคลุมผลผลิตและโครงการตามเอกสารงบประมาณที่เป็นภารกิจหลักมีสัดส่วนประมาณ 80% (20% จะเป็นงานสนับสนุน) ครอบคลุมการดำเนินงานของทุกกรมในกระทรวง ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ ) 26 กรม ใน 3 กระทรวง ประเมินภารกิจในปี 2550 และย้อนหลังในปี 2549 เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปี หา Benchmark ได้
การเตรียมกลไกและข้อมูลของหน่วยงานนำร่อง เตรียมกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตั้งคณะทำงานในระดับกระทรวง ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกรม พร้อมทั้งกำหนดผู้ประสานงานอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนการประเมินความคุ้มค่า จัดตั้งกลไก 2 ระดับ คือ ระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติงาน มีผู้แทนจากทุกกรม และหน่วยที่ดูแลต้นทุนผลผลิต มอบหมายหน่วยงานที่จะเป็นแกนหลักประสานงาน และรวบรวมข้อมูล เตรียมข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต่อการประเมิน ภายใต้การประเมินความคุ้มค่าที่ครอบคลุมมิติประสิทธิผล มิติประสิทธิภาพ มิติผลกระทบ มีข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต้องใช้เพื่อการวางกรอบแนวทาง อาทิ พ.ร.บ. และ พ.ร.ฎ. ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงและกรม / แผนกลยุทธ์ของกระทรวงและกรม / แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / ผังโครงสร้างการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ / การวิเคราะห์ SWOT ของกระทรวงและกรม / ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับผลผลิตของกรม และปริมาณงานของกรม / ผังเชื่อมโยงผลลัพธ์สู่ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณของกรม / รายงานตามแบบ สงป. 301
ขั้นตอนในการประเมินความคุ้มค่าฯ การกำหนดผลผลิต การกำหนดตัวชี้วัดและระดับ ความสมบูรณ์ของข้อมูล การทบทวนการวิเคราะห์ประสิทธิผล ต่อค่าใช้จ่าย (cost effectiveness) การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผล การประเมินความคุ้มค่าฯ
การกำหนดผลผลิต แบบฟอร์ม 3.1 แบบฟอร์มที่ใช้ : ทบทวนโครงสร้างยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ทบทวนโครงสร้างกลยุทธ์ระดับกรมและเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน และผลผลิตของกรม กำหนดผลผลิตระดับกรม - ผลผลิตที่ตอบสนองผลลัพธ์ที่เป็นภารกิจหลักโดยตรง - ผลผลิตภายในหน่วยงานที่นำมาคิดปันส่วนค่าใช้จ่าย - ผลผลิตที่ไม่เข้าข่ายในการประเมินความคุ้มค่าฯ แบบฟอร์ม 3.1 แบบฟอร์มที่ใช้ :
การกำหนดตัวชี้วัดและระดับ ความสมบูรณ์ของข้อมูล กำหนดตัวชี้วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ กำหนดระดับความสมบูรณ์ของข้อมูลและสารสนเทศ วางแผนเพิ่มระดับความสมบูรณ์ของข้อมูลและสารสนเทศ แบบฟอร์ม 3.2 แบบฟอร์มที่ใช้ :
คุณสมบัติของตัวชี้วัด VARS Validity : ความสมเหตุสมผลที่อธิบายได้ Availability of Data : ความมีอยู่ของข้อมูล Reliability of Data : ความเชื่อถือได้ของข้อมูล Sensitivity : ความเคลื่อนไหวของผลที่เกิดขึ้น
การทบทวนการวิเคราะห์ cost effectiveness แบบฟอร์ม 3.3 และ3.4 สรุปสถานภาพความสมบูรณ์ของข้อมูลผลประโยชน์/ค่าใช้จ่ายและการเพิ่มระดับความสมบูรณ์ของข้อมูลและสารสนเทศ วางระบบฐานข้อมูลเพื่อประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ วางระบบการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ พิจารณาว่าสามารถวิเคราะห์ cost effectiveness ได้หรือไม่ ถ้าไม่สามารถวิเคราะห์ได้ ให้ระบุว่าจะประเมินเฉพาะประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบ แบบฟอร์ม 3.3 และ3.4 แบบฟอร์มที่ใช้ :
การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการประเมินความคุ้มค่าฯ สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ จัดทำรายงานการประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ แบบฟอร์ม 3.5 แบบฟอร์มที่ใช้ :
จากประสบการณ์ของหน่วยงานนำร่อง ในการประเมินความคุ้มค่า เตรียมข้อมูลที่จำเป็นต่อการประเมินความคุ้มค่า 1. เป้าหมายการให้บริการกระทรวง/เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน 2. ความเชื่อมโยง(ความสัมพันธ์)ระหว่างเป้าหมายการให้บริการกระทรวง กับเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน 3. ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิตระดับกรม 4. ร่วมกันกำหนด/ปรับปรุง/พัฒนาตัวชี้วัดในระดับต่าง ๆ 5. ผู้มีส่วนร่วมรับผิดชอบ - ในการบรรลุเป้าหมายกระทรวง/หน่วยงาน - การจัดเก็บข้อมูล - การจัดทำตัวชี้วัด 6. การมีอยู่ของข้อมูล ความสมบูรณ์ สถานะของข้อมูล แนวทางในการ จัดเก็บ การปรับปรุง
บทเรียนหน่วยงานนำร่อง 1. เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง/หน่วยงานสูงกว่าระดับกระทรวง สร้างความมั่นคงของรัฐ ขจัดความยากจน 2. เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง/หน่วยงานเป็นนามธรรม แก้ไขปัญหาที่ดินของคนยากจน เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิ้น ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สภาวะแวดล้อมดีขึ้น ความคุ้มครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ให้บริการประชาชนอย่างมีคุณภาพประสิทธิภาพทั่วถึง 3. ไม่มีตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์และผลกระทบ โดยนำตัวชี้วัดระดับผลผลิตไปใช้แทน และตัวชี้วัดระดับผลผลิตไม่มีการเก็บข้อมูล ที่ครบถ้วน
สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรณี สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : การพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนผู้ประกอบการได้รับการส่งเสริมและพัฒนา กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชน ได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านการพาณิชย์อย่างทั่วถึง ผลการดำเนินงานด้านการพาณิชย์ครอบคลุม (จังหวัด) ผลผลิตที่ 1 : การบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ ผลผลิตที่ 2 : โครงการรุกและรักษาตลาดภูมิภาคในต่างประเทศ ผลผลิตที่ 3 : โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการเศรษฐกิจการค้าจังหวัด ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ผลผลิตที่ 1 : การบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ เป้าหมาย : จำนวนเรื่อง/จังหวัด/ระบบ/คน/ร้อยละ เรื่องที่เสนอผู้บริหารเพื่อนำไปใช้ประกอบการจัดทำนโยบายเศรษฐกิจพาณิชย์ การดำเนินงานด้านการพาณิชย์ครอบคลุม จำนวนระบบที่พัฒนาเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ข้อมูลเศรษฐกิจพาณิชย์ การให้บริการข้อมูลข่าวสาร เรื่องที่เสนอผู้บริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ บุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรม/สัมมนา เรื่องที่เสนอผู้บริหารเพื่อนำไปใช้ประกอบการกำหนดมาตรการทางการค้า แผนงาน/โครงการ/งานตามยุทธศาสตร์ที่นำไปปฏิบัติได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ข้อเสนอแนะด้านนโยบาย มาตรการได้นำไปใช้ปฏิบัติงาน ความพึงพอใจของผู้รับบริการ บุคลากรกระทรวงพาณิชย์ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะเพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณปี 2552) ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact) ตัวชี้วัดประสิทธิผล (Outcome) ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (Output) ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาผู้ประกอบการและ ส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนธุรกิจ/ผู้ประกอบการที่มีรายได้/กำไร/ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น จำนวนตลาดใหม่ที่เพิ่มขึ้น/มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้าน การพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้าง ความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชนได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านพาณิชย์อย่างทั่วถึง จำนวนผู้ประกอบการที่นำความรู้ ข้อมูล และการส่งเสริมไปปรับปรุงกิจการ ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อแผน/ข้อมูล ผลผลิตที่ 1 การบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ ผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริม จำนวนข้อมูลการค้าที่ทันสมัย/ครบถ้วน จำนวนแผนยุทธศาสตร์ที่บูรณาการ บุคลากร พณ.ที่ได้รับการพัฒนาฯ สัดส่วนผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริม สัดส่วนจำนวนข้อมูลที่เผยแพร่ทันสมัย/ทันเวลา สัดส่วนแผนบูรณาการที่เผยแพร่ สัดส่วนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : การพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนผู้ประกอบการได้รับการส่งเสริมและพัฒนา กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชน ได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านการพาณิชย์อย่างทั่วถึง ผลการดำเนินงานด้านการพาณิชย์ครอบคลุม (จังหวัด) ผลผลิตที่ 2 : โครงการรุกและรักษาตลาดภูมิภาคในต่างประเทศ เป้าหมาย : จำนวนภูมิภาค/ร้อยละ จำนวนศูนย์ภูมิภาคที่มีการดำเนินงานแบบบูรณาการ แผนงานเชิงยุทธศาสตร์ภูมิภาคได้นำไปปฏิบัติ
ผลผลิต 2 : โครงการรุกและรักษาตลาดภูมิภาคในต่างประเทศ วัตถุประสงค์ สามารถรุกขยายตลาดแก่ภูมิภาค สร้างโอกาสการค้า สินค้า บริการให้ผู้บริโภคยอมรับ สามารถแข่งขันด้านการค้า มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เป้าหมาย จำนวนศูนย์ภูมิภาคที่ดำเนินงานแบบบูรณาการ แผนงานเชิงยุทธศาสตร์ภูมิภาคนำไปปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณปี 2552) ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact) ตัวชี้วัดประสิทธิผล (Outcome) ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (Output) ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาผู้ประกอบการและ ส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนธุรกิจ/ผู้ประกอบการที่มีรายได้/กำไร/ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น จำนวนตลาดใหม่ที่เพิ่มขึ้น/มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้าน การพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้าง ความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชนได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านพาณิชย์อย่างทั่วถึง จำนวนผู้ประกอบการที่นำความรู้ ข้อมูล และการส่งเสริมไปปรับปรุงกิจการ ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อแผน/ข้อมูล/คำแนะนำ ผลผลิตที่ 2 โครงการรุกและรักษาตลาด การให้คำแนะนำ/บริการอำนวยความสะดวก ทางการค้า แผนยุทธศาสตร์ภูมิภาคแบบบูรณาการ สัดส่วนผู้ประกอบการในภูมิภาคที่ใช้บริการฯ ต่อผู้ประกอบการในภูมิภาคทั้งหมด สัดส่วนแผนยุทธศาสตร์ภูมิภาคแบบ บูรณาการที่เผยแพร่
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : การพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนผู้ประกอบการได้รับการส่งเสริมและพัฒนา กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชน ได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านการพาณิชย์อย่างทั่วถึง ผลการดำเนินงานด้านการพาณิชย์ครอบคลุม (จังหวัด) ผลผลิตที่ 3 : โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการเศรษฐกิจการค้าจังหวัด เป้าหมาย : จำนวนอำเภอ/จำนวนราย/ ร้อยละ จำนวนอำเภอที่มีเครือข่ายภาคประชาชนในการดูแลราคาสินค้าและบริการ จำนวนผู้ประกอบการของจังหวัดที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีศักยภาพสามารถขยายตลาดในประเทศและต่างประเทศ จำนวนอำเภอที่มีการติดตามดูแลความเคลื่อนไหวราคาสินค้าและบริการ เพื่อจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้ผลิตระดับจังหวัด ความพึงพอใจของผู้รับบริการจากศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าจังหวัด
ผลผลิต 3 : โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการเศรษฐกิจการค้าจังหวัด ผลผลิต 3 : โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการเศรษฐกิจการค้าจังหวัด วัตถุประสงค์ ผลักดันนโยบาย/ยุทธศาสตร์การค้าในต่างประเทศ สร้างความสามารถด้านการค้าของผู้ประกอบการในจังหวัด โดยเชื่อมโยงตลาดและการลงทุน ให้ศูนย์ข้อมูลทางเศรษฐกิจการค้าในจังหวัดเป็นศูนย์กลางฯ เสริมสร้างประสิทธิภาพการกำกับดูแลราคาสินค้าในจังหวัด เป้าหมาย อำเภอมีเครือข่ายภาคประชาชนดูแลราคา จำนวนผู้ประกอบการของจังหวัดได้รับการพัฒนาฯ จำนวนอำเภอติดตามดูแลราคาสินค้า ความพึงพอใจผู้รับบริการข้อมูลจากศูนย์
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณปี 2552) ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact) ตัวชี้วัดประสิทธิผล (Outcome) ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (Output) ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาผู้ประกอบการและ ส่งเสริมธุรกิจ เป้าหมาย : ธุรกิจและผู้ประกอบการมีความ มั่นคงแข่งขันได้ จำนวนธุรกิจ/ผู้ประกอบการที่มีรายได้/กำไร/ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น จำนวนตลาดใหม่ที่เพิ่มขึ้น/มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้าน การพาณิชย์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้าง ความเป็นธรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ เป้าหมาย : ธุรกิจ ผู้ประกอบการ และประชาชนได้รับประโยชน์จากการให้บริการด้านพาณิชย์อย่างทั่วถึง จำนวนผู้ประกอบการที่นำความรู้ ข้อมูล และการส่งเสริมไปปรับปรุงกิจการ ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อแผน/ข้อมูล/คำแนะนำ สัดส่วนผู้ประกอบการนำยุทธศาสตร์ไปใช้ สัดส่วนผู้ประกอบการขยายการลงทุน/การตลาด สัดส่วนผู้ประกอบการที่พึงพอใจการบริการข้อมูล ดูแลราคาสินค้า ผลผลิตที่ 3 โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ได้รับการผลักดัน ผู้ประกอบการที่ได้รับบริการเชื่อมโยงตลาด การลงทุน ศูนย์ข้อมูลทางเศรษฐกิจการค้าที่เปิดให้บริการ จำนวนสินค้าที่จำเป็นได้รับการดูแล สัดส่วนยุทธศาสตร์ที่ได้รับการผลักดัน สัดส่วนผู้ประกอบการที่ได้รับบริการ สัดส่วนศูนย์ข้อมูลกลางที่ได้รับการพัฒนา สัดส่วนสินค้าจำเป็นที่ได้รับการดูแล
Question & Answer
www.nesdb.go.th Somchai-s@nesdb.go.th