ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
Advertisements

ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
Soil Mechanics Laboratory
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม
วิธีการดำเนินงาน.
รูปแบบปก booklet อุทยานแห่งชาติทางบก
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การแจกแจงปกติ.
โรงเรียนวังทองพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 2
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
1. แนวความคิดในการศึกษา
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ โสภา ศิริไพพรรณ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ข้อมูลพืช อุปกรณ์ 1. เทปวัด 2. เชือก บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ ข้อมูลพืช อุปกรณ์ 1. เทปวัด 2. เชือก 3. เครื่องมือวัดความสูงต้นไม้ เช่น Pole, Haga ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ วิธีการ 1. คัดเลือกพื้นที่ป่าไม้ตัวแทนที่ใกล้เคียงพื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย 2. วางแปลงขนาด 20 x 40 ตารางเมตร ในพื้นที่ป่าไม้ตัวแทน จำนวน 1 แปลง 3. ในแปลงตัวแทนต้นไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงลำต้นมากกว่า 14.14 เซนติเมตร ที่ระดับความสูง จากผิวดิน 1.30 เมตร ให้วัดขนาดเส้นรอบวงลำต้นที่ระดับความสูงจากผิวดิน 1.30 เมตร และความสูงของต้นไม้ แล้วจดบันทึกไว้ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

แปลงตัวแทน 20 เมตร 40 เมตร พื้นที่บุกรุก พื้นที่ป่า

วิธีการ(ต่อ) 4. คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตารางเซนติเมตร) พื้นที่หน้าตัดลำต้น = 0.0795 (เส้นรอบวงลำต้น)2 5. คำนวณความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ (เมตร) ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ = ผลรวมความสูงของต้นไม้ทั้งหมด/จำนวนต้นไม้ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตร.ซม.) ตารางการคำนวณหาผลรวมพื้นที่หน้าตัดลำต้น และความสูงโดยเฉลี่ยของต้นไม้ (1) ลำดับที่ต้นไม้ (2) เส้นรอบวงลำต้นที่ ระดับ 1.30 เมตร (ซม.) (3) คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตร.ซม.) (3) = 0.0795 (2)2 (4) ความสูงของต้นไม้ (เมตร) 1 X1 Y1 Z1 2 X2 Y2 Z2 3 . X3 Y3 Z3 n Xn Yn Zn รวม/เฉลี่ย   Y [Z]/n

อุปกรณ์ . ขวดใสทรงตรงมีฝาปิด . ไม้บรรทัด . พลั่วมือ ข้อมูลดิน อุปกรณ์ . ขวดใสทรงตรงมีฝาปิด . ไม้บรรทัด . พลั่วมือ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

เนื้อดิน อนุภาคทราย (sand) 0.02 – 2 mm สัดส่วนสัมพัทธ์ของอนุภาคที่เป็นของแข็งในดินที่มีขนาดไม่เกิน 2 มิลลิเมตร กรวด เศษซากพืช อนุภาคทราย (sand) 0.02 – 2 mm อนุภาคทรายแป้ง (silt) 0.002 – 0.02 mm อนุภาคดินเหนียว (clay) < 0.002 mm 100 %

ในแปลงป่าธรรมชาติ และพื้นที่ที่ถูกทำลาย 15 cm ในแต่ละแปลง เก็บดินอย่างน้อย 7 จุด ผสมรวมเป็น 1 ตัวอย่างตัวแทนของพื้นที่

แล้วแยกกรวดและเศษซากพืชออก ใส่ลงในขวดเติมน้ำประมาณ 2/3 ของขวด ผึ่งให้แห้ง นำดินมาประมาณ 1 พลั่ว บด แล้วแยกกรวดและเศษซากพืชออก ดินตัวอย่าง ใส่ลงในขวดเติมน้ำประมาณ 2/3 ของขวด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน 1-2 วัน เขย่า

วัดความสูงของชั้นต่าง ๆ ดินเหนียว ทรายแป้ง วัดความสูงทั้งหมด ทราย

ข้อมูลลักษณะพื้นที่ที่ถูกทำลาย อุปกรณ์ 1.สายยาง 2.เทปวัดระยะ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

ข้อมูลลักษณะพื้นที่ที่ถูกทำลาย 1. วัดขนาดพื้นที่ที่ถูกทำลาย มีหน่วยเป็นไร่ 2. วัดค่าความยาวของด้านลาดเท มีหน่วยเป็นเมตร 3. วัดค่าความลาดชันของพื้นที่ ดังนี้ 3.1  กำหนดจุด A และ B ที่มีความสูงแตกต่างกัน 3.2  ใช้สายยางบรรจุน้ำ ขึงให้น้ำอยู่ระดับเดียวกันจากจุด A และ B 3.3  วัดระยะทางจาก A ถึง B หน่วยเป็นเมตร (Y) 3.4  วัดระยะทางจาก A ถึง C หน่วยเป็นเมตร (X) 3.5  คำนวณค่าความลาดชัน ค่าความลาดชันเฉลี่ย(%) = (X100)/Y   ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

A ความยาวด้านลาดชัน B ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

การวัดค่าความยาวด้านลาดเท

วิธีการเก็บวัดค่าความลาดชันโดยเฉลี่ยของพื้นที่ Y ใช้สายยางวัดระดับน้ำให้จุด A และจุด B อยู่ในระดับเดียวกัน A B X ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ C

The End ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ