ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน One Vision, One Identity, One Community
มุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2546 ผู้นำอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์การนำอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ในปี 2020 (2563) ปี 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู เร่งรัดการเป็น “ประชาคมอาเซียน” ให้เร็วขึ้น เป็นปี 2015 (2558) ปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint แผนงานการจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community: AEC) เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter” และ “ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ร่วมกันดำเนินการให้สำเร็จตามกำหนดในปี 2558
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) กฎบัตรอาเซียน พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter ตารางดำเนินการ Strategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมา สินค้า เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) CEPT ลงนามปี 2535 เริ่มปี 2536 บริการ กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มปี 2538 ลงทุน เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มปี 2541 ความ ร่วมมือ ด้านเกษตร ป่าไม้ สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน e-ASEAN ฯลฯ 5
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN AEC นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนอาเซียน แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายบริการเสรี การเปิดเสรีการค้าบริการ เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนอาเซียน 49% ปี 2549 (2006) ปี 2551 (2008) 51% ปี 2553 (2010) 70% ปี 2556 (2013) 70% 70% ปี 2558 (2015) สาขา PIS PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) โทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์/สุขภาพ/ท่องเที่ยว/ขนส่งทางอากาศ โลจิสติกส์ 49% 51% สาขาอื่น 30% 49% 51% 7 7