เอกสารประกอบการบรรยายสรุป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดูนก BIRDWATCHING.
Advertisements

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ตำนานเมืองฟ้าแดด เนื้อเรื่อง
หมอลำ “หมอลำ” หมายถึง การร้องเป็นทำนองตามคำกลอนในหนังสือผูก คนที่จำคำกลอนในลำต่างๆได้มากและไปแสในงานบุญต่างๆเรียกว่า “หมอลำ” การแสดงหมอลำมีพัฒนาการอย่างยาวนาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ด.ช. กิตติธัช แก้วนิลกุล
กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ
วัฒนธรรมของประเทศลาว
โครงงานเรื่อง “อุปรากจีน”ศิลปะการแสดงที่ล้ำค่า
ภูมิปัญญาไทย.
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
การศึกษาชุมชนและการนำเสนอเชิงประจักษ์
ชื่อตัวบ่งชี้ 1. 5 : จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์ เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติ คุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ.
พระธาตุพนมค่าล้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูภูไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรมีคนมาเลย์
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กหญิง ณภาภัช โรจนกุล
โดย เด็กชายชนสิษฏ์ วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ป.4/3 เลขที่7
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
รายงานเรื่อง วันลอยกระทง จัดทำโดย นันทวัฒน์ แสนสุริงวงค์ เสนอ
ปริศนาภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชุดที่ 2 ตอน ภาพปริศนาจากดาวเทียมแลนแซท 7
ขอต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน(นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์) และคณะ ด้วยความยินดียิ่ง.
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ขนมไทย รหัส ศักราช เสือหิน.
สถานที่ท่องเที่ยว ติดบางแสนของจังหวัดชลบุรี
แหล่งท่องเที่ยวไทย ในดวงใจ
บ้านของฉัน “สุพรรณบุรี”
จังหวัด สมุทรปราการ จัดทำโดย นางสาวจอมขวัญ เหมรัตนธร
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
จังหวัดชลบุรี.
จังหวัดสุรินทร์.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
ขนมไทย โดย:นางสาวณัฏฐกา ประทุมมา รหัส ชั้นปี่ที่ 1 กลุ่ม10
ตราด.
อำเภอปากช่อง.
การท่องเที่ยวนครราชสีมา
Slogan Of the province History Mood &Tone ROIET.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
วัฒนธรรมประเพณี ไทย.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทที่11 สถานที่ท่องเที่ยวอันลือชื่อของไทย
What is the Wisdom ?.
ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ประวัติความเป็นมา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 เมื่อประมาณ 195 ปีมาแล้ว ชาวบ้าน ได้อพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี พ.ศ มาตั้ง บ้านเรือนอยู่ที่บ้านหนองปลิงใหญ่
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐธัญ สร้างนา โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม อ. แก้งคร้อ จ. ชัยภูมิ
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
1. คำขวัญของจังหวัดเชียงราย 2. คำขวัญของจังหวัดเชียงใหม่ 3. คำขวัญของจังหวัดน่าน 4. คำขวัญของจังหวัดพะเยา 5. คำขวัญของจังหวัดแพร่ 6. คำขวัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
สถานที่ท่องเที่ยวหน้า หนาว จัดทำโดย เด็กหญิง ชุติกาญจน์ ยี่บุญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 เลขที่ 1 เสนอ คุณครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด.
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการบรรยายสรุป การศึกษาพหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการ ที่ ๑๐ และ ๑๒ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม ระหว่าง สบย.๗ และ สบย.๑๒ (ศูนย์ประสานงานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้)

พหุวัฒนธรรมอีสาน ๙ จังหวัด ในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด เลย หนองบัวลำภู หนองคาย อุดรธานี บึงกาฬ

๙ คำขวัญประจำจังหวัด ในเขตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ ขอนแก่น พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน ศูนย์รวมผ้าไหม ร่วมใจผูกเสี่ยว เที่ยวขอนแก่นนครใหญ่ ไดโนเสาร์สิรินธรเน่ สุดเท่เหรียญทองแรกมวยโอลิมปิก มหาสารคาม พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักศิลานคร กาฬสินธุ์ เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ำ วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลำปาว ไดโนเสาร์สัตว์โลกล้านปี ร้อยเอ็ด สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกตุ บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามหน้ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา โลกลือชาข้าวหอมมะลิ อุดรธานี น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรม 5,000 ปี ธานีผ้าหมี่ขิดแดนเนรมิตหนองประจักษ์ เลิศลักษณ์กล้วยไม้หอม อุดรชันไฌน์ เลย เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู หนองบัวลำภู ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อุทยานแห่งชาติภูเก้าภูพานคำ แผ่นดินธรรมหลวงปู่ขาว เด่นสกาวถ้ำเอราวัณ นครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน หนองคาย วีรกรรมปราบฮ่อ หลวงพ่อพระใส สะพานไทย-ลาว บึงกาฬ สองนางศาลศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์หลวงพ่อใหญ่ แหล่งน้ำใสหนองกุดทิง สุดใหญ่ยิ่งแข่งเรือยาว หาดทรายขาวเป็นสง่า น่าทัศนาแก่งอาฮง งามน้ำโขงที่บึงกาฬ   สุขสำราญที่ได้ยล

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ สภาพทางสังคมชาวอีสาน แม้ในพื้นที่ภาคอีสานจะประกอบด้วยหลายชนเผ่าแต่การดำเนินชีวิตทั่วไปของชาวไทยในภาคอีสานขึ้นอยู่กับความเชื่อ และระเบียบแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ยึดถือร่วมกันมาตั้งแต่สมัยโบราณที่รียกว่า “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” หมายถึงจารีต และครรลอง ที่ยึดถือสืบต่อกันมา ทำให้สังคมพื้นบ้านอีสานมีความสงบสุข

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ ภาษาท้องถิ่นอีสาน ในพื้นที่ภาคอีสานมีภาษาพูดประจำถิ่นหลายภาษา ตามแต่ละชนเผ่า เช่น ลาว ญ้อ ภูไท กะเลิง แสก โซ่ กุลา ไทเลย ฯลฯ ภูไท กุลา อีสาน กะเลิง ญ้อ

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ ประเพณีอีสาน ประเพณีของคนอีสานส่วนใหญ่จะสืบทอดมาแต่สมัยโบราณ เช่นบุญบั้งไฟ ผีตาโขน บุญข้าวจี่หรือบุญเดือนสาม บุญเดือนสี่ บุญผะเหวด บุญคูณลาน บุญซำฮะ เป็นต้น การเล่นผีตาโขน จ.เลย บุญบั้งไฟ บุญผะเหวดร้อยเอ็ด

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ อีสานมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ดนตรีหมอลำ และศิลปะ การฟ้อนรำที่เรียกว่า เซิ้ง เป็นต้น ดนตรี อาหาร การฟ้อนรำ

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ วัฒนธรรมการแต่งกายพื้นเมือง อีสานมีชนพื้นเมืองหลายเผ่าพันธุ์ ลักษณะการแต่งกายจะมีเอกลักษณ์เฉพาะชนเผ่าเช่น ภูไท ญ้อ ไทลาว โย้ย

พหุวัฒนธรรมอีสานในเขตตรวจราชการที่ ๑๐ และ ๑๒ สรุป แม้ว่าชาวอีสานจะประกอบด้วยกลุ่มชนหลายเผ่า เช่น ชาวไทยอีสาน ลาว แสก ย้อ ผู้ไทย กะโส้ (โซ่)รวมทั้งชนเผ่าอื่น ๆ ซึ่งแต่ละเผ่ามีความแตกต่างกัน ทั้งทางด้านภาษา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี  วิถีการดำเนินชีวิต  แต่วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ยึดมั่นอยู่ในจารีตประเพณี ที่เรียกว่า"ฮีตบ้านคองเมือง" และ "ฮีตสิบสอง คองสิบสี่"สอนให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ร่วมกิจกรรมสังคมและ งานบุญ งานกุศลเป็นประจำ ทำให้การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน ของกลุ่มชนต่างๆเหล่านี้มีความ สงบสุขตลอดมาตราบถึงปัจจุบัน