สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โครงการ พัฒนามาตรฐานแรงงาน เพื่อ ส่งเสริมการค้าเสรี สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 1
มาตรฐานแรงงาน กำแพงการค้า... ยุคโลกาภิวัฒน์ * ปกป้องการค้า การผลิต และการจ้างงาน มาตรการภาษี มาตรการที่มิใช่ภาษี สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช อุปสรรคด้านเทคนิค เก็บภาษีต่อต้านการทุ่มตลาด สิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคม มาตรฐานแรงงาน 2
มาตรฐานแรงงาน เกี่ยวกับ ข้อกำหนดการปฏิบัติต่อแรงงาน ความหมาย มาตรฐานแรงงาน ข้อกำหนดการปฏิบัติต่อแรงงาน เกี่ยวกับ สภาพการจ้างและสภาพการทำงาน 3
มาตรฐานแรงงานเป็นส่วนหนึ่งของ ความรับผิดชอบทางสังคมของบรรษัท CSR) จริยธรรมทางธุรกิจ ความรับผิดชอบทางสังคมของบรรษัท CSR) หลักปฏิบัติ Code Of Conduct 4
อนุมัติ 301,869,900 บาท ระยะเวลา 5 ปี (2545 - 2549) มติคณะรัฐมนตรี 18 ธันวาคม 2544 มติคณะรัฐมนตรี อนุมัติ 301,869,900 บาท ระยะเวลา 5 ปี (2545 - 2549) 5
หลักการและเหตุผล ภาวะการแข่งขันในเวทีการค้าโลก รุนแรงขึ้นเป็นลำดับ กลุ่มผู้ซื้อจากประเทศพัฒนาแล้วนำ มาตรฐานแรงงานมาเป็นเงื่อนไข SA 8000 WRAP FLA COC ผู้ผลิต 6
ให้ลูกจ้างได้รับการปฎิบัติ ตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงาน เป้าหมาย ให้ลูกจ้างได้รับการปฎิบัติ ตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงาน ที่เป็นเงื่อนไขทางการค้า ลดอุปสรรค - เพิ่มโอกาสทางการค้า 7
ประโยชน์ ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานสู่สากล ภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ ลดอุปสรรค - เพิ่มโอกาสทางการค้า ภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ - ความมั่นคงทางสังคม 8
ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย ประกาศกระทรวงแรงงาน มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย (มรท.8001-2546) ณ วันที่ 27 มิถุนายน 2546 9
THAI LABOUR STANDARD (TLS. 8001 – 2003) ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย THAI CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY: TCSR TCSR : แนวคิด หลักการ และขอบข่าย SA 8000 10
มีสาระสำคัญ 2 ส่วนหลัก คือ สิทธิแรงงานและการคุ้มครอง อ้างอิงมาจาก อนุสัญญาหลักขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) 5.3. การใช้แรงงานบังคับ 5.4 ค่าตอบแทนการทำงาน 5.5 ชั่วโมงการทำงาน 5.6 การเลือกปฏิบัติ 5.7 วินัยและการลงโทษ 5.8 การใช้แรงงานเด็ก 11
5.10 เสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง 5.9 การใช้แรงงานหญิง 5.10 เสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง 5.11 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.12 สวัสดิการแรงงาน ระบบการจัดการแรงงาน เป็นระบบการจัดการคุณภาพ (ISO 9001) 12
วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีบรรทัดฐานการปฏิบัติต่อ แรงงานที่แสดงถึงความรับผิดชอบทาง สังคมอันนำไปสู่การส่งเสริมโอกาสการ แข่งขันของธุรกิจไทย และยกระดับ คุณภาพชีวิต 13
การรับรอง มรท 8001 : 2546 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย เป็นพื้นฐานและยกระดับการปฏิบัติสู่สากล รวมทั้งมีระบบ การจัดการที่ดีอันเป็นหลักประกันว่าการปฏิบัตินั้นจะยั่งยืนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 14
ระเบียบกรมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการรับรอง มาตรฐานแรงงานไทย พ.ศ.2546 ฉบับที่ 2 และ 3 พ.ศ.2547 ประกาศกรม กำหนดการรับรอง แบ่ง 2 ระดับ ระดับพื้นฐาน และระดับสมบูรณ์ 15
รับรองการปฏิบัติที่สอดคล้องข้อกำหนด มาตรฐานตามขอบเขตของกฎหมาย ระดับพื้นฐาน รับรองการปฏิบัติที่สอดคล้องข้อกำหนด มาตรฐานตามขอบเขตของกฎหมาย อายุการรับรอง 1 ปี 16
ระดับสมบูรณ์ รับรองการปฏิบัติที่สอดคล้องข้อมาตรฐานทั้งหมด แบ่งเป็น 4 ขั้น ตามความสามารถในการจัดการ O.T. อายุการรับรอง 3 ปี ขั้นสูงสุด (Superative Phase) O.T. 12 ชม. ขั้นริเริ่ม (Initiative Phase) O.T. 36 ชม. ขั้นพัฒนา (Generative Phase)O.T. 24 ชม. ขั้นก้าวหน้า (Progressive Phase) O.T. 18 ชม. อายุการรับรอง 1 ปี 17
การรับรอง มรท.8001-2546 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 สปก.มีความพร้อมเข้าสู่การรับรอง มรท.8001-2546 กลุ่มที่ 2 กรมจัดจ้างที่ปรึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนา มาตรฐานแรงงาน ที่ปรึกษาเข้าไปร่วมดำเนินการ 6-8 วันทำการ ระยะเวลา 4-6 เดือน การจัดทำมาตรฐานแรงงานประสบความสำเร็จ กระทั่งมีความพร้อมยื่นขอรับการรับรอง 18
สถานประกอบกิจการยื่นคำขอการรับรองพร้อมเอกสารประกอบ กรมจัดจ้าง CB ตรวจประเมินตาม ISO/IEC Guide 62,66 ISO 19011 การปฏิบัติไม่สอดคล้อง การปฏิบัติสอดคล้อง ข้อบกพร่องย่อย เสนอแผน ข้อบกพร่องสำคัญ เสนอแผน ติดตามผล เสนอคณะอนุกรรมการ 19
คณะอนุกรรมการพิจารณาตัดสินผลการตรวจประเมิน สอดคล้องกับข้อกำหนด เสนออนุมัติการรับรอง ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด แก้ไข ขอข้อมูลเพิ่มเติม พิจารณาทวนสอบความ สอดคล้องกับข้อกำหนด อนุมัติและประกาศการรับรอง แจ้งให้ยื่นต่ออายุ เมื่อครบการรับรอง ตรวจติดตามรักษาระบบ 20