นพ.โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Reversal of Vitamin-K Antagonists
Advertisements

การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Are you a student ? Yes, I am or No , I’m not .
เวชปฏิบัติปลอดภัยในวาระสุดท้ายของชีวิต
ACKNOWLEGEMENT & DEDICATION CLICK TO ADVANCE SLIDES
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
คู่มือปรับพฤติกรรมสุขภาพ
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
“Angiographic Patient's safety”
Palliative Treatment : From Cure to Care
Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
Patient Safety Walk Rounds :
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การประเมินความเสี่ยงทางกาย-ทางจิต และการรายงานผล
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
Good Philosophy หลักคิดดีดี.
นพ.โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ เวชศาสตร์ครอบครัว รพ. แม่สอด อ.แม่สอด จ.ตาก
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คำถาม Delirium แยกจาก Dementia อย่างไร
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
พฤติกรรมควบคุมบุคคลอื่นอย่างแยบยล Manipulative behavior
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ฒ ผู้สูงอายุ มีปัญหาสุขภาพ ขาดผู้ดูแล Primary Care Family Medicine.
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
ธนกร ศิริสมุทร เภสัชสนเทศ กลุ่มการบริบาลเภสัชกรรม ฝ่ายเภสัชกรรม
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
Family assessment and Home health care
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
INHOMESS นพ.นนท์ โสวัณณะ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ Last hour of life นพ.โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ

ความสำคัญของ last hour of life?

The terminal phase How people die remains in the memory of those who live on. Dame Cicely Saunders

เพื่อแจ้งแก่ญาติและผู้ดูแลว่าวาระสุดท้ายมาถึง เพื่อเตรียมตัว เตรียมตัวในด้าน: Physical- review ยา, การดูแลอาการที่เหมาะสม Psychosocial-declare death is approaching to the relatives and significant ones, พูดคุยเรื่องสถานที่ที่จะดูแลระยะสุดท้าย, ทบทวน advance care plan(ที่เคยคุยไว้), bereavement assessment Spiritual care- spiritual need , unfinished business การดูแลช่วงท้ายที่ดีช่วยเรื่อง bereavement ได้มาก

จะรู้ได้อย่างไรว่าเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต?

Physical status เริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง(weeks-month) ผอมลงรวดเร็ว Physical status เริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง(weeks-month) Bedbound- self care was dependence กินน้อยลง, กลืนยาเม็ดไม่ได้-กลืนน้ำเริ่มลำบากหรือสำลัก Reduced cognition: ซึม หลับ หลอน หลง(time place person) **ต้องแยก treatable condition โดยเฉพาะกรณีที่ PS ลดลงรวดเร็วมาก(infection, drug overdose, electrolyte imbalance Ca+, Na+) Handbook of Certificate course in essentials of palliative care,2009

ประเมินอะไรบ้าง?

Terminal symptoms Symptoms change New symptoms appear Need to redefine goals of management Moist breathing 56% Pain 51% Agitation 42% Incontinence 32% Dyspnoea 22% Retention 21% Nausea & V 14% Sweating 14% Twitching 12% Confusion 9% Lichter & Hunt, 1990

The Liverpool Care Pathway Developed by Dr John Ellershaw & associates in UK for the Liverpool University Hospital – late 1990’s Used widely across UK (1800 sites), other countries, and in some Australian states. NZ have federal policy to support LCP implementation throught new Zealand. WA have state policy which funds the LCP through WA QLD have LCP through Aged Care

แปลและดัดแปลงจาก Liverpool care pathway (LCP) v12,2009 ผู้ป่วยมีลักษณะที่ใกล้เสียชีวิต assessment ทีมสุขภาพประเมิน มีภาวะที่แก้ไขได้หรือไม่? Last hour of life? Decision making No Yes สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติเรื่อง ปรับแผนการดูแล สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติเรื่อง Last hour of life communication management LCP: stop inappropriate intervention& symptom management & emotional &spiritual care มีความวิตกกังวลของใครคนใดคนหนึ่งpatient, relative or carer or team member reassessment Improve physical status and/or ทีมสุขภาพประเมินซ้ำใน 3 วัน แปลและดัดแปลงจาก Liverpool care pathway (LCP) v12,2009

คัดลอกจาก Liverpool care pathway (LCP) v12,2009 1 Current medication assessed and non essentials discontinued 2 PRN subcutaneous medication written up for list Below as protocol 2.1 Pain – Analgesia 2.2 Agitation – Sedative 2.3 Respiratory tract secretions (RTS) – Anticholinergic 2.4 Nausea & vomiting – Anti-emetic 2.5 Dyspnoea – Anxiolytic / Muscle Relaxant 3 Discontinue inappropriate interventions 3.1 Blood tests 3.2 Antibiotics 3.3 IV (fluids/medication) 3.4 Not for CPR documentation 3.5 Deactivate cardiac defibrillators (ICD’s) 4 Decision to discontinue inappropriate nursing Interventions 5 Recognition of dying 5.1 Patient 5.2 Family/other 6 Plan of care explained to :- 6.1 Patient 6.2 Family/other 7 Hospital/Hospice/Nursing Home assessment for these symptoms expected at least 4 hourly a) Pain assessed 4 hourly or at each visit  Yes  No b) Agitation assessed 4 hourly or at each visit  Yes  No c) RTS assessed 4 hourly or at each visit  Yes  No d) Nausea & vomiting assessed 4 hourly or at each visit  Yes  No e) Dyspnoea assessed 4 hourly or at each visit  Yes  No คัดลอกจาก Liverpool care pathway (LCP) v12,2009

Indications for switching from oral route to parenteral route Intractable vomiting Severe dysphagia Decreased conscious level Poor absorption

พุทธวิถีการดูแลในระยะสุดท้าย จัดการอารมณ์และความรู้สึก ระลึกถึงคุณงามความดีที่ทำมา (กุศลจิต) ปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ (อกุศลจิต) น้อมนำใจสู่ความสงบ พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล.เพชิญความตายอย่าสงบ, 2553