52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
Rigid Body ตอน 2.
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
Electromagnetic Wave (EMW)
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Electric force and Electric field
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
เครื่องเคาะสัญญาณ.
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ผลกระทบต่อการส่งออกไทย จากภัยหายนะธรรมชาติของญี่ปุ่น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 อาจารย์อรอุมา พงค์ธัญญ ดิลก
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ดาวศุกร์ (Venus).
วิทยาศาสตร์ Next.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์ 2. ความเร็วในแนวระดับเท่ากับความเร็วตอนต้นที่ลูกปืน ยิงออกมา 3. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดมากกว่าตอนที่ถูกยิงออกมา 4. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดน้อยกว่าตอนที่ถูกยิงออกมา แต่ไม่เป็นศูนย์

คำถามเพิ่มเติม ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2554 )

โดย... อาจารย์ทิวา เพ็ญสุข บทที่ 2 สนามของแรง โดย... อาจารย์ทิวา เพ็ญสุข

แรงที่กระทำต่อวัตถุได้แก่ แรงโน้มถ่วง 2. แรงแม่เหล็ก 3. แรงไฟฟ้า 4. แรงนิวเคลียร์

น้ำหนักแปรผันตรงกับมวล Kg.m/s2 น้ำหนักแปรผันตรงกับมวล น้ำหนัก กับ มวล เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน

แต่ น้ำหนัก จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตามค่า g มวล มีค่าคงที่เสมอ แต่ น้ำหนัก จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตามค่า g ?

ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2550 ) ข้อ 48. เมื่อวัตถุอยู่บนดวงจันทร์ชั่งน้ำหนักของวัตถุที่มีมวล 10 กิโลกรัม ได้ 16 นิวตัน ถ้าปล่อยให้วัตถุตกที่บนผิวของดวงจันทร์ วัตถุจะมีความเร่งเท่าใด 1. 1.6 m/s2 2. 3.2 m/s2 3. 6.4 m/s2 4 9.6 m/s2

ข้อมูลจากโจทย์ แทนค่าจะได้ 500 = m(10) m = 50 kg ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2547 ) 5. ชายคนหนึ่งมีน้ำหนัก 500 นิวตันที่ผิวโลก เขาจะมีมวลเท่าใดบนดวงจันทร์ ซึ่งมีค่าความเร่งโน้มถ่วงเป็น 1/6 เท่าของโลก (กำหนดให้ค่าความโน้มถ่วงของโลก = 10 m/s2 ) 1. 50 kg 2. 50/2 kg 3. 50/4 kg 4. 50/6 kg หา m บนโลก จาก w = mg ข้อมูลจากโจทย์ แทนค่าจะได้ 500 = m(10) m = 50 kg

มวล มีค่าคงที่เสมอ หา m บนโลก จาก w1 = mg m บนโลก = w1 g ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2553 ) มวล มีค่าคงที่เสมอ หา m บนโลก จาก w1 = mg m บนโลก = w1 g

สนามแม่เหล็กโลก

ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

แรงทางไฟฟ้า (Electric Force) นั่นคือ... เราพบว่า.. เมื่อนำหวีมาถูกับผม หรือใช้แผ่น PVC ถูกับผ้าสักหลาดแล้ว สามารถดูดกระดาษแผ่นเล็กๆ ได้ และเรียกแรงที่เกิดนี้ว่า แรงทางไฟฟ้า (Electric Force) นั่นคือ...

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต ... นั่นเอง

600 ปี ก่อนคริสตศักราชหรือราวๆ ก่อนสมัยพุทธกาล 60 ปี THALES OF Miletus

ค.ศ. 1600( พ.ศ. 2143 ) เซอร์วิลเลียม กิลเบิร์ต ( Sir William Gilbert ) สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ค.ศ. 1600( พ.ศ. 2143 ) เซอร์วิลเลียม กิลเบิร์ต ( Sir William Gilbert ) กิลเบิร์ตทดลองถูวัตถุอย่างอื่น ๆ อีกมากมายและพบว่าการถูวัตถุอื่นๆ ก็ทำให้เกิดอำนาจการดึงดูดเช่นเดียวกับการถูแท่งอำพัน เขาเรียกอำนาจดังกล่าวว่า อิเลกตริกซิตี้( Electricity )

กิลเบิร์ต ได้ทำการค้นคว้าอย่างละเอียด ทำบัญชีแยกสารที่ถูกันแล้วเกิดแรงดึงดูดหรือไม่เกิดแรงดึงดูดเป็นพวก ๆ เรียงลำดับสารที่ถูกันแล้วเกิดแรงดึงดูดหรือแรงผลักเป็นลำดับไว้ และได้ประดิษฐ์เครื่องมือวัดอำนาจไฟฟ้าอย่างง่ายๆ เขาเรียกเครื่องมือนี้ว่า อีเล็กโทรสโคป ( electroscope ) เขารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ แล้วเขียนและได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือเรื่อง เดอ แมกเนท ( De Magnete )

ค.ศ.1654( พ.ศ.2197 ) นายกเทศมนตรีเมืองแมกดาเบิร์กในประเทศเยอรมันชื่อ ออต โต ฟอน เกอริค ( Otto Van Guericke )

ผู้ซึ่งประสบผลสำเร็จในการสร้าง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิตที่มีอำนาจมากขึ้น ได้โดยเขาใช้ถุงมือถูกับลูกบอลกำมะถันซึ่งกำลังหมุนอย่างรวดเร็ว

เขาเรียกเครื่องมือของเขาเรียกว่า ในปี ค.ศ. 1746 ( พ.ศ.2289) มุสเคนบรอค ( Musschenbrock ) แห่งมหาวิทยาลัยเลเดนในฮอลแลนด์ประสบความสำเร็จในการสร้างเครื่องเก็บประจุไฟฟ้าได้ เขาเรียกเครื่องมือของเขาเรียกว่า ขวดเลเดน ( Leyden Jar )

ลักษณะเป็นขวดแก้วมีแผ่นดีบุก บุที่ด้านในและด้านนอก หลังจากการเก็บประจุไว้แล้วถ้าต่อแผ่นดีบุกด้วยตัวนำ สามารถทำให้ เกิดประกายไฟฟ้าได้

นักวิทยาศาสตร์คนแรก ที่ได้นำขวดเลเดน มาทดลองแล้ว นักวิทยาศาสตร์คนแรก ที่ได้นำขวดเลเดน มาทดลองแล้ว.... อธิบายได้ว่า เมื่อนำวัตถุมาเสียดสีกัน วัตถุนั้น...จะสามารถดูดวัตถุเล็กๆ ได้ (แรงทางไฟฟ้า) นั่นเกิดจาก ประจุไฟฟ้า คือ...

เบนจามิน แฟรงคลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นบุคคลแรกที่อธิบายได้ว่า เมื่อนำวัตถุมาเสียดสีกัน วัตถุนั้น...จะสามารถดูดวัตถุเล็กๆ ได้ (แรงทางไฟฟ้า) นั่นเกิดจาก ประจุไฟฟ้า และได้จำแนกชนิดของประจุไฟฟ้าเป็น ประจุบวก ( + ) และประจุลบ ( - ) โดยที่ ประจุเหมือนกันจะผลักกัน ประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน

ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2548 )

คำถามเพิ่มเติม ลองทำดูนะ

สนามไฟฟ้า

ทิศของสนามไฟฟ้า

ผลของสนามแม่เหล็กต่อ การเคลื่อนที่ของอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้า

ประจุไฟฟ้า โปรตอน ประจุบวก (+) ประจุลบ (-) อิเล็คตรอน

ทิศของประจุบวกเคลื่อนที่

ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

ข้อสอบ O-Net ก.พ.2553

(บวกไปลบ)

ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

ข้อสอบ O-Net ก.พ.2553

tiwa_pen@utcc.ac.th