รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
ความหมายของโครงงาน.
11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ทักษะการวิเคราะห์.
ประดิษฐ์ของประดับตกแต่งบ้าน เพื่อลดภาวะโลกร้อน
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Normalization.
บทที่ 3 ระบบฐานข้อมูล Database system
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
โครงการประถมฐานบิน -การจัดการฐานข้อมูลเงินสวัสดิการครูโรงเรียนประถมฐานบินกำแพงแสน-
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การสืบทอด (Inheritance)
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
Chapter 2 Database systems Architecture
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
สุขภาพจิต และการปรับตัว
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
นอร์มัลไลเซชัน (Normalization)
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บูรณภาพของข้อมูล ลัชนา อินชัยวงศ์.
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
กระบวนการสอบถามข้อมูล
ประวัติความเป็นมาของฐานข้อมูลและยกตัวอย่างโปรแกรมในการจัดการฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
Data Modeling Chapter 6.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
(การลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
1. จุดประสงค์ของการออกแบบฐานข้อมูล
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
Introduction to Database
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน ชุติมณฑ์ บุญมาก

รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน

แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์ในแต่ละรีเลชัน ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบฟังค์ชัน (FD) ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบหลายค่า (MVD) ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join

แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน วัตถุประสงค์ในการทำให้เป็นรูปแบบบรรทัดฐาน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จัดเก็บในแต่ละรีเลชัน ทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้ ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล ลดปัญหาขาดความถูกต้องของข้อมูล ลดปัญหาที่เกิดจากการปรับปรุง เพิ่มเติม และลบข้อมูล

การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 1 คือทุกแอททริบิวต์ในแต่ละทูเพิลมีค่าของข้อมูลเพียงค่าเดียว รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 2 คือรีเลชันนั้นต้องไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบบางส่วน รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 3 คือทุกแอททริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์หลักไม่มีคุณสมบัติในการกำหนดค่าของ แอททริบิวต์ อื่น รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานของบอยส์และคอดด์ เป็นรูปแบบที่ขยายขอบเขตมาจากขั้นที่ 3 เพื่อแก้ปัญหาความซ้ำซ้อนของข้อมูล

การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 4 คือรีเลชันนั้นต้องไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบหลายค่า รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 5 คือ รีเลชันนั้นๆมีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join และรีเลชันย่อยๆที่จำแนกออกมาต้องมีคีย์คู่แข่งของรีเลชันเดิมอยู่ด้วยเสมอ หรือ รีเลชันนั้นๆ ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join

การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน ข้อควรคำนึงในการทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน การจำแนกรีเลชันย่อยมากเกินไป การ Denormalization หมายถึง การที่รีเลชันใดๆถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด