บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next
การซ่อมบำรุงระบบ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทราบถึงขั้นตอนการซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Back Next
เนื้อหาในบทที่ 15 ประกอบด้วย Project Identification and Selection 1. เก็บรวบรวมคำร้องขอให้ปรับปรุงระบบ 2. วิเคราะห์ข้อมูลคำร้องขอเพื่อการปรับปรุง 3. ออกแบบการทำงานที่ต้องการปรับปรุง 4. ปรับปรุงระบบ Back Project Initiation and Planning Analysis Logical Design Physical Design Next Implementation Maintenance
กิจกรรมในขั้นตอนการบำรุงรักษาระบบ เก็บรวบรวมคำร้องขอให้ปรับปรุงระบบ วิเคราะห์ข้อมูลการร้องขอเพื่อการปรับปรุง ออกแบบการทำงานที่ต้องการปรับปรุง ปรับปรุงระบบ
ประเภทของการบำรุงรักษาระบบ ซ่อมบำรุงเพื่อความถูกต้อง (Corrective Maintenance) ซ่อมบำรุงเพื่อปรับเปลี่ยน (Adaptive Maintenance) ซ่อมบำรุงเพื่อความสมบูรณ์ (Perfective Maintenance) ซ่อมบำรุงเพื่อป้องกัน (Preventive Maintenance)
ประเภทของการบำรุงรักษาระบบ ซ่อมบำรุงเพื่อความถูกต้อง เป็นการซ่อมบำรุงเพื่อความถูกต้องของระบบ ดำเนินการเป็นลำดับแรกสุดหลังจากการติดตั้งโปรแกรม เพื่อติดตามสิ่งที่ผิดพลาดและแก้ไขให้ถูกต้องที่สุด
ประเภทของการบำรุงรักษาระบบ ซ่อมบำรุงเพื่อปรับเปลี่ยน เป็นการบำรุงรักษาเพื่อดัดแปลงขั้นตอนการทำงานบางส่วนของระบบตามความต้องการของผู้ใช้ที่เพิ่มขึ้นตามสถานการณ์ในการดำเนินงาน
ประเภทของการบำรุงรักษาระบบ ซ่อมบำรุงเพื่อความสมบูรณ์ เป็นการบำรุงรักษาเพื่อความสมบูรณ์ของระบบ เพิ่มเติมลักษณะการทำงานบางอย่างเข้าไปให้ใช้งานง่ายกว่าเดิม หรือให้สะดวกมากขึ้น
ประเภทของการบำรุงรักษาระบบ ซ่อมบำรุงเพื่อป้องกัน เป็นการทำเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการเพิ่มความสามารถให้กับระบบ หรือเพื่อรองรับการขยายตัวของลูกค้า
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการบำรุงรักษาระบบ จำนวนข้อผิดพลาดที่อยู่ในระบบ (Defects) จำนวนลูกค้า (Customers) คุณภาพของเอกสาร (Documentation) คุณภาพของทีมงานซ่อมบำรุง (Personnel) เครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการซ่อมบำรุง (Tools)
การจัดการการบำรุงรักษาระบบ บุคลากรในทีมงานบำรุงรักษาระบบ (Maintenance Personnel Management) การประเมินประสิทธิภาพในการบำรุงรักษาระบบ (Maintenance Effectiveness Measurement) การควบคุมการร้องขอให้ปรับปรุงระบบของผู้ใช้ (Maintenance Requests Control)