“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
การวิจัย RESEARCH.
Technology Application
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Thesis รุ่น 1.
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
Knowledge Management (KM)
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การแจกแจงปกติ.
การเขียนรายงานการวิจัย
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การเขียนรายงานการวิจัย
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การลงข้อมูลแผนการสอน
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R” โดย นาวาตรี ดร.พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. (29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา(52-ปัจจุบัน) พย.บ. มหิดล , วท.บ. ( สุขศึกษา ) ,ศษ.บ.( บริหารการศึกษา ) ศษ.บ. ( การวัดและประเมินผลการศึกษา ) ค.ม. (การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค.ด.(Ph.D.) (การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสัมพันธ์ การปฏิบัติงานประจำสู่งานวิจัย R to R (Routine to Research) การวิจัยปฏิบัติการ AR (Action Research) การวิจัยพัฒนา R&D (Research and Development) นำไปสู่ KM ( Knowledge Management ) นำไปสู่ LO (Learning Organization)

ความรู้ ( Knowledge ) ข้อมูล ( Data) สารสนเทศ ( Information )

ชนิดของความรู้ ( Type of Knowledge ) ความรู้เดิม ความรู้ใหม่ ความรู้ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge) ความรู้ที่ในบุคคล ( Tacit Knowledge)

องค์ประกอบของการจัดการความรู้ การแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้ การจัดเก็บความรู้ การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์

การแสวงหาความรู้ อ่าน ฝึกหัด ศึกษา อบรม ประชุม สัมมนา

การสร้างองค์ความรู้ ( การวิจัย ) วิจัยเชิงบรรยาย วิจัยเชิงพัฒนา วิจัยเชิงประเมิน วิจัยเชิงทดลอง

การจัดเก็บความรู้ ห้องพักผ่อน ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ ระบบสารสนเทศ

การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์ รูปแบบการเข้าถึง ระบบการยืมคืน ระบบการถ่ายโอนความรู้ ระบบการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ การสร้างเครือข่าย

องค์ประกอบของ องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization : LO) การเรียนรู้ หรือ พลวัตการเรียนรู้ ( Learning Dynamics ) องค์การ หรือ การปรับเปลี่ยนองค์การ ( Organization Transformation ) สมาชิกในองค์การ หรือ การเสริมพลังอำนาจ ( People Empowerment )

ความรู้ หรือ การจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) เทคโนโลยี หรือ การนำเทคโนโลยีไปใช้ ( Technology Application )

“ การวิจัย ” การศึกษา ค้นคว้า ได้องค์ความรู้ใหม่ สิ่งใหม่ๆ การศึกษา ค้นคว้า ได้องค์ความรู้ใหม่ สิ่งใหม่ๆ อย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เชื่อถือได้ / มีความน่าเชื่อถือ

งานวิจัย Research ป.โท Thesis ป.เอก Dissertation Academic research Formal research

งานประจำ สู่ งานวิจัย R to R วิจัยสถาบัน

วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน งานวิจัยปฏิบัติการ วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน Classroom Action research Informal research

Routine การปฏิบัติงาน ประจำ สม่ำเสมอ เป็นปกติ

Routine to Research การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา การปฏิบัติงาน

Type of R to R พัฒนากระบวนการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ลดอัตราการสูญเปล่า พัฒนานวัตกรรม รายงานการใช้นวัตกรรม การประเมินโครงการ:ผู้รับบริการ การประเมินโครงการ:พัฒนาบุคลากร

ชื่อเรื่อง วิธีวิทยา ตัวแปร กลุ่มเป้าหมาย

บทที่ 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ 1. ความคาดหวัง เป้าหมาย 2. สภาพปัจจุบัน 3. ประเด็นที่ต้องการทำวิจัย และ สิ่งที่คิดว่าจะเกิดหลังทำวิจัย

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อ 2. สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 3. ตอบคำถามวิจัยได้ทั้งหมด

ประโยชน์ที่ได้รับ ระบุสิ่งที่เป็นประโยชน์ ทำให้ได้อะไร ทำให้ทราบอะไร นำไปใช้ประโยชน์อะไร

นิยามศัพท์ นิยามตัวแปร นิยามตามพจนานุกรม นิยามปฏิบัติการ

บทที่ 2 การศึกษาวรรณกรรม

วรรณกรรม(เขียนอะไร) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับตัวแปร แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีวิทยา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ( กับตัวแปร กับวิธีวิทยา หรือ กลุ่มตัวอย่าง )

บทที่ 3 วิธีดำเนินการ

วิธีการวิจัย ระบุแบบแผน เชิงบรรยาย เชิงประเมิน เชิงพัฒนา

ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง ระบุประชากร ชัดเจน บอกจำนวน กลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาด วิธีการสุ่ม

แบบวัดตัวแปรชนิดต่างๆ เครื่องมือ แบบวัดตัวแปรชนิดต่างๆ แบบสอบถาม แบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ

การแปลความหมายคะแนน 1. คะแนนจาก rating scale - Mid point average - ช่วงเท่า 2. คะแนนจากการวัดความรู้ - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย 3. สถิติอ้างอิง

การหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า IOC

สถิติหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า P ค่า r

สถิติหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า Reli ค่า  ค่า KR-20

การเก็บรวบรวมข้อมูล ใครเก็บ เก็บที่ไหน เก็บเมื่อใด

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ 1. ตารางข้อมูลทั่วไป 2. ตารางค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. ตารางเปรียบเทียบ Pre test - Post test ตารางศึกษาพัฒนาการ/needs assessment ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ตารางความสัมพันธ์

สรุป อภิปรายผล เสนอแนะ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล เสนอแนะ

การเขียนสรุป สรุป จากบท 1 , 3 และ 4 (ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์) สรุป จากบท 1 , 3 และ 4 (ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์) 2. อภิปรายผล ตามสมมุติฐาน หรือ คำถามวิจัยอ้างตามบท 2 3. ข้อเสนอแนะ จากผลวิจัย การทำวิจัยครั้งต่อไป

การเขียนรายงาน ปก บทคัดย่อ 1. บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ปก บทคัดย่อ 1. บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ 2. การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. วิธีดำเนินการ 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

K M ( การเผยแพร่ การใช้ประโยชน์)

L O ( การจัดระบบ เป็นประจำ ต่อเนื่อง)

สวัสดีครับ