ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
VBScript.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
Principles of Programming
Principles of Programming
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ตัวแปรในภาษา JavaScript
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
บทที่ 9 การทำงานกับเลข จำนวน. เลขจำนวนเต็ม $a = 1234;// รูปแบบ เลขฐานสิบ $b = -123;// รูปแบบเลขฐานสิบ $c = 0123;// รูปแบบเลขฐาน แปด $d = 0x1A;// รูปแบบ.
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Overview of C Programming
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ตลอดเวลา ตัวแปรถูกนำมาใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจำเพื่ออ้างอิงถึงข้อ มูลในหน่วยความจำ

การประกาศตัวแปร ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ (dollar sign) เสมอ หลังเครื่องหมาย $ ตามด้วยชื่อตัวแปร ตัวแรกต้องขึ้นต้นตัวอักษร หรือ เครื่องหมาย _ 3. ตัวถัดมาเป็นได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข หรือ _ ผสมกันได้ ชื่อของตัวแปรมีคุณสมบัติ case-sensitive คืออักษรตัวเลขตัวใหญ่ถือว่าเป็นคนละตัวกัน (การประกาศตัวแปรไม่ต้องระบุชนิดตัวแปร)

ตัวอย่าง <? $name=“Robert”; //ประกาศตัวแปร name $Age=25; //ประกาศตัวแปร Age $age=20; //ประกาศตัวแปร age echo “$name <br>”; //แสดงค่าในตัวแปร name echo “$Age <br>”; //แสดงค่าในตัวแปร Age echo “$age”; //แสดงค่าในตัวแปร age ?>

ผลลัพธ์ Robert 25 20 ข้อสังเกต การกำหนดค่าให้ตัวแปรที่เป็นตัวอักษรต้องอยู่ใน “ “ ชื่อตัวแปร $Age และ $age เป็นตัวแปรคนละตัวกัน

ตัวอย่าง <? $num1=40; $num2=30; $result=$num1-$num2; Echo “$result”; ?> ผลลัพธ์ 10

ชนิดตัวแปร จำนวนเต็ม (Integer) เป็นตัวเลขจำนวนเต็มใดๆ คือ เต็มบวก เต็มลบ เต็มศูนย์ <? $num=20; echo “ค่าในตัวแปรnum คือ $num”; ?> ผลลัพธ์ ค่าในตัวแปร num คือ 20

ชนิดตัวแปร 2. จำนวนทศนิยม (Floating Number) เป็นตัวเลขที่มีจุดทศนิยมหลังเลขจำนวนเต็ม <? $num=3.58; echo “ค่าในตัวแปรnum คือ $num”; ?> ผลลัพธ์ ค่าในตัวแปร num คือ 3.58

ชนิดตัวแปร 3. สตริง (String) เป็นข้อมูลที่นำตัวอักษรหรือตัวเลขมาประกอบกันขึ้นโดยใช้เครื่องหมาย “ “ ทุกครั้ง <? $a=“12440827”; $b=“อานุภาพ”; echo “ค่าในตัวแปร \$a คือ $a”; // \$ แสดง $ echo “ค่าในตัวแปร \$b คือ $b”; // \$ แสดง $ ?>

ชนิดตัวแปร 4. อาร์เรย์ (Array) เป็นตัวแปรที่ใช้ชื่อตัวแปรชื่อเดียว แต่มีการจัดแบ่งพื้นที่จัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจำออกเป็นช่องๆ แต่ละช่องมีหมายเลขที่ใช้อ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ของช่องในการจัดเก็บ $score[2] $score[4] $score[0] $score[3] $score[1] 58 65 74 62 85

ตัวอย่าง <? $score[0]=58; $score[1]=65; $score[2]=74; $score[3]=62; echo “คะแนนสอบนักเรียนคนที่ 1 เท่ากับ $score[0] <br>”; echo “คะแนนสอบนักเรียนคนที่ 2 เท่ากับ $score[1] <br>”; echo “คะแนนสอบนักเรียนคนที่ 3 เท่ากับ $score[2] <br>”; echo “คะแนนสอบนักเรียนคนที่ 4 เท่ากับ $score[3] <br>”; echo “คะแนนสอบนักเรียนคนที่ 5 เท่ากับ $score[4] <br>”; ?>

จากตัวอย่าง ตัวแปรอาร์เรย์ยังไม่สามารถช่วยให้การเขียนโปรแกรมดี ขึ้นกว่าการใช้ตัวแปรทั่วไปเลย แต่เมื่อเรานำคำสั่งทำซ้ำ(บทที่6) มาใช้ ร่วมกันจะเกิดประสิทธิภาพอย่างมาก ในบทนี้จะชี้ให้เห็นว่าเราสามารถใช้ตัวแปรตัวเดียวสามารถเก็บข้อมูลได้ หลายจำนวน นอกจากการประกาศตัวแปรดังตัวอย่างที่ผ่านมา ยังสามารถประกาศ ตัวแปรในรูปแบบต่อไปนี้ ตัวแปรอาร์เรย์=array(“ค่าของอาร์เรย์ช่องที่0”,“ค่าของอาร์เรย์ช่องที่1”,…)

ตัวอย่าง <? $score=array(“58”,”65”,”74”,”62”,”85”); echo “คะแนนนักศึกษาคนที่ 1 เท่ากับ $score[0]<br>”; echo “คะแนนนักศึกษาคนที่ 2 เท่ากับ $score[1]<br>”; echo “คะแนนนักศึกษาคนที่ 3 เท่ากับ $score[2]<br>”; echo “คะแนนนักศึกษาคนที่ 4 เท่ากับ $score[3]<br>”; echo “คะแนนนักศึกษาคนที่ 5 เท่ากับ $score[4]<br>”; ?>

ฟังก์ชั่นที่เกี่ยวกับตัวแปร gettype ใช้ตรวจสอบชนิดข้อมูลในตัวแปร empty ตรวจสอบว่าตัวแปรเก็บข้อมูลไว้หรือไม่ ถ้าไม่มีข้อมูลจะ มีค่าเป็นจริง(true) ให้ค่าเป็น 1 <? $val1=50; $result1=empty($val1); echo “ค่าของตัวแปร \$result1 คือ $result1”; ?>

ฟังก์ชั่นที่เกี่ยวกับตัวแปร isset(ตัวแปร) ตรวจสอบว่าตัวแปรที่ระบุมีจริงหรือไม่ ถ้ามีจะคืนค่าจริง ให้ค่าเป็น 1 unset(ตัวแปร) ใช้ทำลายตัวแปรและคืนหน่วยความจำ <? $val=50; $result=isset($val); echo “ค่าของตัวแปร \$result คือ $result”; ?>

ค่าคงที่ ชื่อที่กำหนดขึ้นมาเพื่อเก็บค่าใดๆที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงในโปรแกรม รูปแบบ define(ชื่อค่าคงที่,ค่า); ตัวอย่าง <? define(“vat”,0.07); $price=500; $tax=$price*vat; echo “ราคาสินค้า $price บาท ภาษีมูลค่าเพิ่มเท่ากับ $tax บาท”; ?>

แบบฝึกหัด ให้เขียนโปรแกรมภาษา PHP ในการคำนวณหาค่าคะแนนเฉลี่ยของการสอบครั้งหนึ่งซึ่งมีนักเรียน 5 คน โดยให้สร้างตัวแปรทั้งหมด 7 ตัว ดังนี้ ตัวแปร 5 ตัวแรกใช้เก็บค่าคะแนนสอบของนักเรียนทั้ง 5 คน ตัวแปรตัวที่ 6 ใช้เก็บค่าผลรวมของคะแนนสอบของนักเรียน 5 คน ตัวแปรตัวที่ 7 ใช้เก็บค่าคะแนนเฉลี่ยของคะแนนสอบทั้ง 5 คน

แบบฝึกหัด 2. ให้เขียนโปรแกรมภาษา PHP โดยพิมพ์ข้อมูลประวัติส่วนตัวโดยให้กำหนดตัวแปรต่างๆดังนี้ ชื่อ-สกุล ให้เก็บไว้ในตัวแปรชนิดสตริง เพศ ให้เก็บไว้ในตัวแปรสตริงในลักษณะเป็นอักขระ (M คือชาย และ F คือหญิง) น้ำหนัก ให้เก็บไว้ในตัวแปรชนิดทศนิยม ส่วนสูง ให้เก็บไว้ในตัวแปรชนิดทศนิยม อายุ ให้เก็บไว้ในตัวแปรชนิดเลขจำนวนเต็ม

แบบฝึกหัด ให้เขียนโปรแกรมภาษา PHP โดยสร้างตัวแปร 2 ตัวคือตัวแปรอาร์เรย์ตัวที่ 1 ให้เก็บชื่อนักเรียน 5 คน และ ตัวแปรอาร์เรย์ตัวที่ 2 ให้เก็บอายุของนักเรียนทั้ง 5 คนหลังจากนั้นให้พิมพ์ผลลัพธ์บอกว่านักเรียนแต่ละคนมีอายุเท่าไหร่