Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
Advertisements

องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
สนับสนุน โดย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
A wonderful of Bioluminescence
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจัดระบบในร่างกาย.
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
Trypanosoma.
Trichomonas vaginalis
หนอนพยาธิ (Helminth).
Haemoflagellate.
Other Protozoa.
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
Myasthenia Gravis.
การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ
ระบาดวิทยาโรคปอดบวมของจังหวัดเพชรบุรี
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
HIV/AIDS.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การนวดไทยแบบราชสำนัก
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
Major General Environmental Problems
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
6. VASCULITIS PONGSAK MAHANUPAB,M.D. Department of Pathology
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12
พลุและดอกไม้ไฟ.
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ โดย รศ.นพ.สรรเพชญ เบญจวงศ์กุลชัย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เชื้อจุลชีพแบ่งออกได้ดังนี้ ไวรัส (Virus) บักเตรี (Bacteria) เชื้อรา (Fungus) ปาราสิต (Parasite) แคลมมีเดีย (Chlamydiae) ริคเกทเซีย (Rickettsiae) ไมโครพลาสม่า (Mycoplasmas)

เชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายคนได้หลายทาง (route of infection) ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) ทางเดินหายใจ (respiratory tract) ทางปาก (oral) ทางเพศสัมพันธ์ (sexual contact) ทางเดินปัสสาวะ (urinary tract) ผ่านทางรก (Transplacental route) ถ่ายเลือด (Blood transfusion)

ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) Malaria – ยุงกัดคน ทางผิวหนังปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด filariform - Strongyloides stercolaris และ (hook worms) ตัวอ่อนระยะ cercariae (Schistosoma spp) Staphylococcus aureus, Staphylococus epidermidis Chlamydia trachomatis

ทางเดินหายใจ (respiratory tract) ไวรัส บักเตรี เชื้อรา Pnuemonia ไวรัส ได้แก่ หัด (measles) หรือ อีสุกอีใส (chickenpox) เป็นต้น

ทางปาก (oral) ไข่หรือตัวอ่อนระยะติดต่อ บักเตรี (เช่น Salmonella typhi ) hepatitis A และ E viruses, poliovirus และrotavirus เป็นต้น น้ำลายของผู้ป่วย เช่น เชื้อ HIV, herpesviruses และ mumps viruses เป็นต้น

ทางเพศสัมพันธ์ (sexual contact) Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) Neisseria gonorrhoeae (โรคหนองใน) Chlamydia trachomatis Herpes simplex virus [HSV-2] papillomaviruses Trichomonas vaginalis เชื้อ HIV

ทางเดินปัสสวะ (urinary tract) Escherichia coli Trichomonas vaginalis Neisseria gonorrhoeae

ผ่านทางรก (Transplacental route) Toxoplasma gondii (Toxoplasmosis) Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) HIV HBV (Hepatitis B virus)

ถ่ายเลือด (Blood transfusion) HIV HBV (Hepatitis B virus)

ด่านป้องกันการติดเชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายได้แก่ ด่านป้องกันชั้นแรก ผิวหนัง (skin) เยื่อบุผิว (mucosal surface) ผลผลิตที่เป็นน้ำย่อยและสิ่งขับถ่าย (secretory and excretory by-products) เชื้อจุลชีพที่อาศัยอยู่ตามปกติ ในอวัยวะ (Normal flora) ด่านป้องกันชั้นที่สอง การอักเสบ (inflammation) ภูมิคุ้มกัน (immune response) Humoral immune : Antibody Cell-mediated immune : MPS

เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกาย แบ่งตามที่อยู่อาศัยได้ ดังนี้ อาศัยอยู่ในเซลล์ (intracellular) ต้องอยู่ในเซลล์เท่านั้น (obligate intracellular) poliovirus, Chlamydia trachomatis, Rickettsia prowazekii, Leishmania donovani บางขณะอยู่ในเซลล์ (facultative intracellular) Histoplasma capsulatum, Trypanosoma cruzi, Mycobacterium tuberculosis อาศัยอยู่นอกเซลล์ (extracelluar) Mycoplasma pneumoniae, Streptococcus pneumoniae, Trypanosoma gambiense, Wuchereria bancrofti อยู่ที่ผิวหนัง (cutaneous) Staphylococcus epidermidis, Trichophyton sp. อยู่ที่เยื่อบุผิว (mucosa)     Vibrio cholerae, Giardia lambia, Enterobius vermicularis (oxyuriasis พยาธิเข็มหมุด). Candida albicans (Thrushในปาก)

เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว กระจายไปในอวัยวะต่างๆได้หลายทาง หลอดเลือด (Hematogenous spread)พัดพาไปตามกระแสโลหิต อาศัยอยู่ใน เซลล์กินสิ่งแปลกปลอม (migratory macrophages) เช่น เชื้อไวรัส HIV-1 อาศัยอยู่ใน เม็ดเลือดแดง เช่น เชื้อมาเลเรีย เป็นต้น พัดเกาะติดไปกับ วัตถุลอยในกระแสเลือด (emboli) ท่อน้ำเหลือง (Lymphatic spread)ไปตามกระแสน้ำเหลือง แพร่กระจายโดยตรงไปยังอวัยวะข้างเคียง (Direct extension) แพร่กระจายไปตามของเหลวในร่างกาย (tissue fluid spread) แพร่กระจายไปตามเส้นประสาท (neural spread) Rabies, Varicella zoster แพร่กระจายผ่านรกเข้าสู่ทารกในครรภ์ (placental-fetal route) HIV, hepatitis B virus, Treponema pallidum (syphilis), toxoplasma gondii

เชื้อจุลชีพก่อให้เกิดพยาธิสภาพร่วมที่สำคัญได้แก่ Serous inflammation including epidemal exfoliation Catarrhal inflammation Suppurative inflammation (การอักเสบเป็นหนอง) Hemorrhagic inflammation Membranous inflammation Pseudomembranous inflammation Gangrenous inflammation Granulomatous inflammation Ulcer (แผล) Cellulitis Chronic interstitial inflammation Cellular inclusion bodies

Carcinogenesis Without specific pathologic morphological changes Anemia

เชื้อจุลชีพพวกฉวยโอกาส (Opportunistic and AIDS-associated infectiions) Cytomegalovirus (CMV) Pneumocystis carinii Cryptosporidium parvum Toxoplasma gondii Candida sp. (Candida albicans) Cryptococcus neoformans Aspergillus sp. Mucor Pseudomonas aeruginosa