1. ภ. จว. นำร่อง คือ ภ. จว. สงขลา 2. ภ. จว. ขยายผล คือ ภ. จว. สตูล, ตรัง, พัทลุง, ปัตตานี, ยะลา และ นราธิวาส
รายกา ร รับ แจ้ง เสียชี วิต บาดเ จ็บ ส. ค.- ต. ค ส. ค.- ต. ค.51 1, เพิ่ม / ลด
รายกา ร รับ แจ้ง เสียชี วิต บาดเ จ็บ เพิ่ม / ลด
ลดล ง สูงขึ้ น ลดล ง
รายละเอียดส. ค. - ต. ค.50 ส. ค. - ต. ค. 51 * ขับรถเร็วเกินกว่าที่ กฎหมายกำหนด * ตัดหน้าระยะกระชั้นชิด * แซงรถอย่างผิดกฎหมาย 2968 * เมาสุรา117 * ฝ่าฝืนสัญญาณไฟฯ 1223 * ไม่ให้สัญญาณจอด / ชะลอ / เลี้ยว 2636 * ขับรถไม่เปิดไฟ / ไม่ใช้ แสงสว่างตามกำหนด 33 * ฝ่าฝืนป้ายหยุดทางขณะ ออกจากทางร่วมฯ 2128
ส. ค. - ต. ค.50 ส. ค. - ต. ค. 51 * รถจักรยานยนต์ * รถยนต์นั่ง * รถโดยสารขนาด เล็ก ( รถตู้ ) 1420 * รถบรรทุกขนาด เล็ก ( ปิกอัพ ) * รถบรรทุก 6 ล้อ * รถบรรทุก 10 ล้อ หรือมากกว่า
ทางตรง 513 ราย ทางโค้ง 117 ราย ทางแยก 213 ราย ทางคนข้าม 1 ราย ถนนที่มีสิ่ง กีดขวาง 6 ราย
ทางหลวง แผ่นดิน 507 ราย ทางหลวง ชนบท 165 ราย ถนนในเมือง ( เทศบาล ) 205 ราย ถนน อบต./ หมู่บ้าน 50 ราย
1. ภ.9 ได้ออกคำสั่งที่ 870/2551 ลง 8 ก. ย จัดตั้งศูนย์ จราจรและลดอุบัติเหตุ ณ ชั้น 4 อาคาร บก. อก. ภ.9 อ. เมือง จว. สงขลา 2. โดยมี พล. ต. ต. สันติ เพ็ญสูตร รอง ผบช. ภ.9 ( มก 1) เป็นผู้อำนวยการ 3. ใช้การประชุมบริหารประจำเดือนของ ภ.9 ทุกเดือน ในการกำชับ การปฏิบัติ และรับทราบปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติและร่วมกัน พิจารณาปรับแนวทางในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ของแต่ละพื้นที่
รถยนต์ส่วนใหญ่มักติดฟิล์มกรองแสงทึบหรือฟิล์มปรอท ทำให้ยากต่อการ มองเห็นผู้กระทำความผิด ขาดอุปกรณ์ตรวจจับผู้ขับขี่รถในขณะใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่มีกล้องถ่ายรูป เพื่อถ่ายภาพเป็นพยานหลักฐานในการจับกุม เนื่องจากในบางครั้งผู้ถูกจับกุม ปฏิเสธได้ การกวดขันจับกุมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ทำได้ไม่เต็มความสามาร เนื่องจากมีผลกระทบต่อมวลชนนำไปสู่ปัญหาการก่อความไม่สงบ การกวดขันจับกุมยังไม่มีอุปกรณ์เครื่องมือสำหรับถ่ายภาพ หรือบันทึกข้อมูล ซึ่งจะเป็นช่องโอกาสของผู้กระทำผิด โดยอาจไม่ยอมรับผิด เมื่อไม่มีหลักฐาน ปรากฏอย่างแน่ชัด ( บริเวณสี่แยก ซึ่ง จยย. มักฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร ไม่มีกล้อง CCTV. ถ่ายภาพในการดำเนินการจับกุมกับผู้ฝ่าฝืน )