แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นายแพทย์สมยศ เจริญศักดิ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
โครงการร่วมผลิตเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) เพื่อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
แผนการจัดการเรียนรู้
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
แนวทางการประชุมกลุ่ม แผนบูรณาการจัดบริการโครงการ “ ยิ้ม สวย เสียงใส ” เทิดพระเกียรติ 50 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 1 ส่งแบบกรอกข้อมูลให้จังหวัด กรอกข้อมูลสถิติ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
ผลการดำเนินการปีงบ 2557 ด้านบริหาร - จัดทำแผน ขอเครื่องมือในการจัดตั้ง - หน่วยบริการฟอกเลือด รพ กบินทร์บุรี - ทำแผนในการพัฒนาบุคลากร ในการเข้ารับการอบรม.
Pass:
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ภาพรวม Six Plus Building Block
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
  โครงการฟันเทียมพระราชทาน และรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบริการสุขภาพที่ 12 โดย นพ.อินทร์ จันแดง.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
ข้อมูลและรายงานทันตสาธารณสุข2558
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก 23 มีนาคม 2556

ภาพรวม ปัญหา ความชุกของโรคมีมาก ความต้องการใช้บริการมาก ปัญหา ความชุกของโรคมีมาก ความต้องการใช้บริการมาก เน้น เพิ่มจุดการให้บริการ เมือง/ชนบท ลดเวลารอคอย (คิว) แผนฯ แก้ปัญหาตามบริบทของพื้นที่

เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุ ปี๕๕ * รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากฯ ระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕

เป้าหมายระหว่างทาง ปี ๒๕๕๗ เด็ก ๓ ปีฟันผุไม่เกินร้อยละ ๕๗ ปี ๒๕๖๐ เด็ก ๓ ปีฟันผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ 2557 2560

มีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ เป้าหมายดำเนินงาน ปี ๒๕๖๐ ลดอัตราป่วย เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ ๕๐ กลวิธีดำเนินการ รพ.สต. ทุกแห่ง มีงานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก รพ.สต. อย่างน้อยร้อยละ ๕๐ มีทันตบุคลากร ให้บริการทันตกรรมป้องกัน (เคลือบหลุมร่องฟัน, ฟลูออไรด์วานิช) เอาคำว่า ลดลง ออกดีไหม

คนอายุ ๖๐ ปี มีฟันใช้งานน้อยกว่า ๒๐ ซี่ ปี๕๕ * รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากฯ ระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕

รอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน เป้าหมายดำเนินงาน ปี ๒๕๖๐ ลดระยะเวลารอคอย (คิว) ของ ผู้สูงอายุ รอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน กลวิธีดำเนินการ ศสม. และ รพ. ทุกแห่งสามารถทำฟันเทียมได้ จัดให้มีความร่วมมือในการให้บริการสุขภาพช่องปาก กับภาคเอกชน

จำนวน รพ.สต.ที่มี ทันตาภิบาลประจำ เขตสุขภาพ จำนวน รพ.สต. จำนวน ทภ.ใน รพ.สต. ปี๕๕ ร้อยละ 1 1,098 233 21.2 2 619 159 25.7 3 579 106 18.3 4 797 176 22.1 5 912 192 21.1 6 770 241 31.3 7 810 249 30.7 8 873 221 25.3 9 952 116 12.2 10 834 332 39.8 11 713 113 15.8 12 152 19.1 ทั้งประเทศ 9,754 2,290 23.5

เข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๒๐ เป้าหมายดำเนินงาน ปี ๒๕๖๐ เพิ่มการเข้าถึงบริการของ ประชาชนทุกกลุ่ม เข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๒๐ กลวิธีดำเนินการ เพิ่มจุดการให้บริการสุขภาพช่องปาก ใน รพ.สต., ศสม. จัดให้ รพ.มีศักยภาพการให้บริการสุขภาพช่องปาก ตามเกณฑ์ฯ และมีระบบ รับ-ส่งต่อผู้ป่วย แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก สธ ๐๒๒๘.๐๓/๖๖๒๗ ลว.๑๔ มิย.๒๕๕๕

สรุปเป้าหมายดำเนินงาน ปี ๒๕๖๐ ลดอัตราป่วย เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ ๕๕ * ลดระยะเวลารอคอย (คิว) ผู้สูงอายุ รอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ประชาชนทุกกลุ่ม เข้าถึงบริการฯ ร้อยละ ๒๐ ** * รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากฯ ครั้งที่ ๖, กรมอนามัย ร้อยละ ๖๑.๔ ** การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๕๒, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร้อยละ ๙.๑

ขีดความสามารถ ของสถานบริการแต่ละระดับ* รพ.สต. (P1) ศสม. (P2) ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกัน งานทันตกรรมเบื้องต้น และส่งต่อ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกัน งานทันตกรรมเบื้องต้นและส่งต่อ เพิ่มงานฟันเทียม และรักษารากฟันที่ไม่ยุ่งยาก แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก สธ ๐๒๒๘.๐๓/๖๖๒๗ ลว.๑๔ มิย.๒๕๕๕

ขีดความสามารถ ของสถานบริการแต่ละระดับ* รพ. F1-3 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และทันตกรรมป้องกัน งานบริการทันตกรรม ๔ สาขาหลัก ศัลยกรรมช่องปากฯ ทันตกรรมสำหรับเด็ก รักษารากฟัน งานฟันเทียม แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก สธ ๐๒๒๘.๐๓/๖๖๒๗ ลว.๑๔ มิย.๒๕๕๕

ขีดความสามารถ ของสถานบริการแต่ละระดับ* รพ. M1-2 รพ. A, S งานบริการทันตกรรม ๔ สาขาหลัก ที่ซับซ้อน (รักษารากฟันหลัง, ฟันเทียม+ผ่าตัดสันเหงือก) รับการส่งต่อภายในจังหวัด งานเฉพาะทาง ที่ซับซ้อน (รากฟันเทียม, ปากแหว่งเพดานโหว่) รับการส่งต่อภายในจังหวัด และเขตสุขภาพ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก สธ ๐๒๒๘.๐๓/๖๖๒๗ ลว.๑๔ มิย.๒๕๕๕

สวัสดี