พระพุทธรูปประจำ ๙ รัชกาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
*ความสุขของพระมหากษัตริย์
การชุมนุมเพื่องานการ เผยแผ่ธรรม ในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ วันที่ กันยายน 2550 ศูนย์ฝึกอบรมงานอภิบาล บ้านผู้หว่าน.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
พุทธประวัติ.
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
ในทวีปออสเตรเลีย การเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สุมนมาลาการ.
History มหาจุฬาฯ.
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
ศาสนา.
สมัยนาระ.

ด.ญ.พิยดา คลังสิริ ชั้น ป.4/6 เลขที่35
วันแม่แห่งชาติ โดย ด.ญ.ภาณุมาศ อภิเดช.
The designs inspired by Phra Maha Chedi of King Rama I-IV at Wat Phra Chetuphon Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn Mr. Taechit Cheuypoung.
“ ตำรวจภูธรจังหวัดสระแก้ว เป็นตำรวจมืออาชีพ เพื่อ ความผาสุกของประชาชน ”
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย
ขอเชิญเหล่า พุทธศาสนิกชนผู้สนใจ ร่วมงานบุญวันอาทิตย์ ณ วัดสังฆทาน ในวันอาทิตย์ที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ชาวพุทธตัวอย่าง พระเจ้าอโศกมหาราช ประวัติเบื้องต้น
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
นางสาวสุศนีย์ พิพัฒนานุกูล
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
การจัดการเรียนการสอน
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
LAO Best Asian Lao Rapper from Texas- Kay feat. Tony Vee-Struggle
พิธีการใช้พานพุ่ม.
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
พุทธศาสนากับชีวิตประจำวัน ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
การขับเคลื่อน ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระพุทธรูปประจำ ๙ รัชกาล

ประเทศไทยนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติมาช้านาน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนในการประกอบพิธีการทาง ศาสนา รวมถึงเป็นที่จำวัดของพระภิกษุ สามเณร การสร้างวัด ถือเป็นศรัทธาของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะการสร้างวัดของพระมหากษัตริย์เพื่อแสดงว่าทรงเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม...โดยมักจะแสดงออกเป็น 3 ลักษณะ คือ อุปถัมภ์ศาสนธรรม เช่นสังคายนาพระไตรปิฎก อุปถัมภ์ศาสนบุคคลโดยการให้การบำรุงพระภิกษุสามเณร และอุปถัมภ์ศาสนวัตถุโดยการสร้างปฎิสังขรณ์วัด สำหรับพระมหากษัตรยิ์แห่งราชวงศ์จักรีไทย ได้มีการสร้างวัดประจำพระองค์ขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา  

พระพุทธเทวปฏิมากร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร(วัดโพธิ์) วัดประจำรัชกาลที่ ๑

พระพุทธนฤมิตร วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร(วัดแจ้ง) วัดประจำรัชกาลที่ ๒

พระพุทธอนันตคุณอดุลยบพิตร วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาลที่ ๓

พระพุทธสิหังคปฎิมากร วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาลที่๔

พระพทุธชินราช (จำลอง) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาลที่๕

พระพุทธชินสีห์ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาลที่ ๖

พระพุทธอังคีรส วัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาลที่๗

พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ วัดสุทัศน์เทพวราราม ราชวรมหาวิหาร วัดประจำรัชกาลที่ ๘

สมเด็จพระพุทธญาณนเรศวร์ วัดญาณสังวราราม วรมหาวิหาร วัดประจำรัชกาลที่๙