บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
บทที่ 3 Planning.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
CFO Forum Mission Possible
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับกรม
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่ วิชาการตรวจสอบภายใน ได้มีการปฏิรูปลักษณะการปฏิบัติงานมาตลอดในทศวรรษ ที่ผ่านมาเพื่อให้ทันกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป

คำนิยามการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายใน คือ กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษาอย่าง อิสระและเที่ยงธรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์การ การ ตรวจสอบภายในจะช่วยให้องค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่กำหนด โดยใช้ การประเมินและการปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การ ควบคุม และกำกับดูแล อย่างเป็นระบบและมีระเบียบวิธี

แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญ 5 ประการ คือ 1. การช่วยให้องค์กรบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 2. การประเมินและการปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยงการ ควบคุมและการกำกับดูแล 3. กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและให้คำปรึกษา เพื่อเพิ่มมูลค่า และปรับปรุงการ ดำเนินงานขององค์กร 4. ความเป็นอิสระและเที่ยงธรรม 5. การปฏิบัติภารกิจอย่างเป็นระบบและระเบียบวิธี

การแบ่งวัตถุประสงค์ตามแนวทางที่ COSO ใช้ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ 2. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติงาน

การวางแผนภารกิจ 1. การทำความเข้าใจผู้รับการตรวจ 1. การทำความเข้าใจผู้รับการตรวจ 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน 3. การกำหนดหลักฐานที่ต้องการ 4. การกำหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตวิธีการตรวจ

วิวัฒนาการของการตรวจสอบภายใน ค.ศ. 1941 – 1970 หลังสงครามโลก ค.ศ. 1972 ค.ศ. 1975 มาตรฐานการตรวจสอบ IIA ค.ศ. 1977 กฎหมาย FCPA ค.ศ. 1985 การตั้งคณะกรรมาธิการ ค.ศ. 1992 กรอบงานการควบคุมภายใน

ค.ศ. 2002 - มาตรฐาน IIA ใหม่ - กฎหมาย Sarbanes Oxley Act - หลักการกำกับดูแล - กรอบงานการบริหารความเสี่ยง ค.ศ. 2005 ค.ศ. 2009 มาตรฐานการตรวจสอบภายในสากล

วิวัฒนาการตรวจสอบภายในในประเทศไทย พ.ศ. 2472 ประเทศไทยเริ่มมีการสอบบัญชี พ.ศ. 2491 จัดตั้งสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2505 การประกาศระเบียบการจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2517 การจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 มติคณะรัฐมนตรีเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2521 จัดทำคู่มือการตรวจสอบภายใน

พ.ศ. 2531 ขยายขอบเขตงานตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2532 จัดตั้งสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2535 กำหนดคุณสมบัติของบริษัทที่จะยื่นคำขอจดทะเบียน พ.ศ. 2539 จัดทำคู่มือระบบการควบคุมภายใน พ.ศ. 2541 ออกข้อบังคับให้บริษัทจดทะเบียนต้องจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ภายใน พ.ศ. 2542 ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลัง

พ.ศ. 2544 ระเบียบว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายในในภาครัฐ พ.ศ. 2545 ประกาศใช้มาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2545 ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลังพ.ศ. 2551

การตรวจสอบภายในแบบสมบูรณ์ 1. การสอบบัญชี 2. การตรวจสอบภายในแนวขยาย

ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

ปัจจัยความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน 1. การสนับสนุน 2. ความเข้าใจ 3. ความรู้ทักษะ 4. ความพร้อม

ลักษณะของการตรวจสอบภายในสมัยใหม่ เป็นการให้สารสนเทศ เป็นผู้สงเสริมสนับสนุน เน้นการบริหารความเสี่ยง เน้นนโยบาย ตรวจสอบตามกระบวนการ ตรวจตามรายงานการดำเนินงาน ปฏิบัติงานสอดคล้องกับมารฐานสากล ควรมีประสบการณ์ด้านการตรวจสอบ

ความสำคัญของการตรวจสอบภายในสมัยใหม่ 1. ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2. ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบ 3. ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพ 4. ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า

ขอบเขตความรู้พื้นฐาน 1. บทบาทในด้านการกำกับดูแล 2. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 3. การวิเคราะห์ธุรกิจ 4. ทักษะในการบริหารธุรกิจ

แนวโน้มการตรวจสอบภายในในอนาคต