ระบบการผลิต ( Production System )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
รหัส หลักการตลาด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Lesson 10 Controlling.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ระบบเทคโนโลยี Technology System
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ระบบกลไก.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
The General Systems Theory
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การเพิ่มผลผลิต Productivity
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 18 พ.ย.54
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
ความหมายของการบริการ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทบาทของข้อมูลการตลาด
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการผลิต ( Production System ) บทที่ 2 ระบบการผลิต ( Production System )

ระบบการผลิต ( Production System ) เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการสร้างสินค้าและ บริการ โดยใช้ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์

องค์ประกอบของระบบการผลิต การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง (Changing in Environment) กระบวนการผลิต / กระบวนการแปลงสภาพ(Conversion Process) ผลได้ / ผลผลิต (output) ปัจจัยนำเข้า (Input) ข้อมูลย้อนกลับ (Information Feedback)

1. ปัจจัยนำเข้า (Input) 4 M’s 6 M’s 7 M’s ทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ ทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ ทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ 4 M’s 6 M’s 7 M’s 1. Man 5. Machine 7. Morale 2. Money 6. Market 3. Material 4. Management

2. กระบวนการผลิต / กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่นำปัจจัยนำเข้ามาผลิตและแปลงสภาพ เพื่อให้ เป็นผลิตภัณฑ์ตามที่ต้องการ

3. ผลได้ / ผลผลิต (output) จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ต้องการในปริมาณและคุณภาพที่กำหนด ในเวลา ที่ต้องการ โดยมีต้นทุนต่ำที่สุด จากการใช้ทรัพยากรจำนวนหนึ่ง สินค้า ผลิตภัณฑ์ บริการ หลัก เสริม

ผลได้ / ผลผลิต เป็นการวัดประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร โดยแสดง ผลได้ / ผลผลิต เป็นการวัดประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร โดยแสดง ในรูปอัตราส่วน ดังสมการ ปัจจัยนำออก ผลผลิต = ปัจจัยนำเข้า Ex. 1, 2 : P. 15,16

การเพิ่มผลผลิตอาจทำได้โดย : การเพิ่มผลผลิตอาจทำได้โดย : 1. เพิ่มผลผลิต และพยายามรักษาระดับของปัจจัยการผลิตให้มีค่าคงเดิม 2. ลดระดับของปัจจัยการผลิต แต่ยังคงระดับผลผลิตเอาไว้ 3. เพิ่มผลผลิตในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มขึ้นของปัจจัยการผลิต 4. ถ้าผลผลิตลดลง จะต้องทำให้ปัจจัยการผลิตลดลงด้วย แต่จะให้ปัจจัยการผลิตลดลงในอัตราที่มากกว่าการลดลงของผลผลิต

4. ข้อมูลย้อนกลับ (Information Feedback) ข้อมูลต่าง ๆ ของกิจกรรมการผลิตที่ได้มาหลังจากเริ่มดำเนินงานแล้ว ซึ่งจะทำการเปรียบเทียบปริมาณและคุณภาพของผลผลิตที่ได้กับเป้าหมายที่วางไว้ หากพบความแตกต่างจะทำการค้นหาสาเหตุและหาแนวทางแก้ไข เพื่อนำไปปรับปัจจัยนำเข้าและกระบวนการผลิต ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของกระบวนการผลิต ทำการ ประเมินและติดตามความก้าวหน้าของผลผลิต เพื่อให้การดำเนินงานของระบบ ผลิตบรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมายที่ตั้งไว้

5. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง (Changing in Environment) ระบบการผลิตของกิจการจัดเป็นระบบเปิด มีโอกาสได้รับผลกระทบ จากสภาพแวดล้อมภายนอกต่าง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ทราบล่วงหน้า อยู่เหนือการควบคุมของผู้บริหาร มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

ประเภทของระบบการผลิต 3 รูปแบบ : 1. การผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Flow Production) 2. การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (Intermittent Production) 3. การผลิตแบบโครงการ (Project Production)

1. การผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Flow Production) เป็นการผลิตสินค้าน้อยชนิด โดยแต่ละชนิดมีปริมาณมาก หรือเรียกว่า line production / flow shop 2 Input Output 1 4 5 3

ลักษณะพิเศษของการผลิตแบบต่อเนื่อง 1. ลำดับการผลิตแน่นอน 2. Input มีมาตรฐานแน่นอน 3. อุปกรณ์และกระบวนการผลิตมาตรฐาน 4. การไหล / การเคลื่อนย้ายของงานใช้สายพาน ไม่มีการหยุดรอ 5. การป้อนงานเข้าหน่วยผลิตแต่ละหน่วยใช้กฎเกณฑ์เข้าก่อนออกก่อน (first in - first out)

2. การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (Intermittent Production) เป็นการผลิตสินค้ามากชนิด โดยแต่ละชนิดมีปริมาณน้อย หรือเรียกว่า การผลิตแบบรับจ้างทำ (job shop production) 2 5 Input Output 6 1 3 4

ลักษณะพิเศษของการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง 1. ลำดับการผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปเสมอ ตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ 2. Input เปลี่ยนแปลงไปเสมอ ตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ 3. อุปกรณ์และกระบวนการผลิตมี่ยืดหยุ่นได้ / อเนกประสงค์ 4. การไหล / การเคลื่อนย้ายของงานจะไม่ติดต่อกัน (มักมีการรอคอย) 5. การป้อนงานเข้าหน่วยผลิตแต่ละหน่วยจะใช้กฎเกณฑ์หลายแบบ (priority rules)

3. การผลิตแบบโครงการ (Project Production) เป็นการผลิตแบบโครงการใหญ่ ๆ ลักษณะพิเศษของการผลิตแบบโครงการ 1. ลำดับการผลิตจะกำหนดแน่นอน 2. ใช้ Input จำนวนมาก 3. ผลิตสินค้า / บริการ ชิ้นเดียว แต่มีขนาดใหญ่ ต้องควบคุมการผลิตอย่างใกล้ชิด 4. หน่วยผลิตบางหน่วยถือเป็นหน่วยวิกฤติ (ต้องผลิตตามเวลาเลื่อนไม่ได้)