ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม จากสงครามเย็นสู่ปัจจุบันและอนาคต ธัญญาทิพย์ ศรีพนา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 21 กันยายน 2010
ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนามในปัจจุบันเป็นความสัมพันธ์ที่ดียิ่ง และอาจกล่าวได้ว่า เป็นตัวอย่างของความสำเร็จในการปรับและพัฒนาความสัมพันธ์ของไทยกับประเทศที่เคยมีความขัดแย้งกันอย่างที่สุดไปสู่ความเข้าใจอันดี ความร่วมมือ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากความหวาดระแวงไปสู่ความไว้วางใจต่อกัน ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม มีทั้งในกรอบพหุภาคีและทวิภาคี จะขอเน้นความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีเท่านั้น : ระดับรัฐ และ ภาคประชาชน
I. ความขัดแย้ง ความหวาดระแวงในอดีต สืบเนื่องจาก ความขัดแย้งระหว่างไทย-เวียดนามด้านอุดมการณ์ ค่ายเสรีนิยม-สังคมนิยม การสนับสนุนของไทยต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯว่าด้วยการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ และการสนับสนุนสหรัฐฯในสงครามเวียดนาม หรือ ที่เวียดนามเรียกว่า สงครามต่อต้านสหรัฐฯ ปัญหากัมพูชา
ความพยายามในปรับความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย II. จากความขัดแย้งสู่ความสัมพันธ์ ความร่วมมือ ความเข้าใจอันดี ความพยายามในปรับความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการพัฒนาสัมพันธ์อันดีและความไว้วางใจต่อกัน การแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ความสำเร็จในการแก้ปัญหาที่คั่งค้างมานาน ความสำเร็จในการลงนามความตกลงสำคัญหลายฉบับ
กลไกกำกับความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม
การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม การสอนภาษาเวียดนามในไทย III. ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ระหว่างประชาชน การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม การสอนภาษาเวียดนามในไทย การสอนภาษาไทยในเวียดนาม เวียดนามให้ทุนสร้างโรงเรียน บ้านโฮจิมินห์ หมู่บ้านมิตรภาพ
การทอดกฐินในเวียดนาม : การท่องเที่ยว การไปมาหาสู่ : สมาคมมิตรภาพไทย-เวียดนาม ชมรมวัฒนธรรมไทย-เวียดนาม (VK) บทบาท VK ในไทย : สะพานเชื่อมสัมพันธ์และสะพานวัฒนธรรม
IV. ความสัมพันธ์ระดับท้องถิ่นของไทยและเวียดนาม : ปัจจัยส่งเสริมความสัมพันธ์ การเชื่อมต่อในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
V. ประเด็นทางการเมืองที่อาจมีความอ่อนไหวต่อความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย