สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน ขั้นตอนที่ 6 สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
วัตถุประสงค์ของขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6:การสะท้อนประสบการณ์การเรียนรู้ จากโครงการ หลังจากสิ้นสุดการบรรยายในหัวข้อนี้ ผู้เข้าร่วมจะสามารถ: ทบทวนว่าแต่ละคนได้เรียนรู้ประสบการณ์อะไรในการ ทำงานอย่างอิสระ หรือร่วมกับผู้อื่น คิดเชิงวิเคราะห์ แก้ปัญหาตัดสินใจ สะท้อนถึงความรู้เกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ทักษะ และการจัดการกับสิ่งที่ พวกเขาได้เรียนรู้
ผลสะท้อนจากประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้ โครงการนี้ก็จะไม่มีค่าอะไรเลย ถ้าไม่มีแต่จะเป็นเพียงแต่เกมส์สนุกสนานเท่านั้น และไม่เกิดการเรียนรู้ ผู้ดำเนินโครงการต้องวางแผนเกี่ยวกับเรื่องผลสะท้อนกลับ เพราะเป็นสิ่งที่จำเป็นในการออกแบบปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ ทักษะ และทัศนคติได้อย่างชัดเจน
ผลสะท้อนของผู้ร่วมดำเนินโครงการ ผลสะท้อนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด มีจุดประสงค์หลากหลายดังนี้ 1. เพื่อประเมินว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ 2. เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงทัศนคติว่าสอดคล้องกันหรือไม่ 3. เพื่อใช้ประยุกต์ในการเรียนรู้ในสถานการณ์อื่นๆ 4. เพื่อเชื่อมต่อการเรียนรู้กับประสบการณ์ในชีวิตจริง 5. เปิดโอกาสให้มีการสรุปบทเรียนในสิ่งที่ได้ทำ ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะของการมีส่วนร่วม 6. สร้างรากฐานสำหรับการพัฒนาต่อไปในอนาคต
ผลสะท้อนกลับของผู้ดำเนินโครงการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ดำเนินโครงการมีโอกาสได้รับการวิพากษ์วิจารณ์กระบวนการได้อย่างเต็มที่ ผลสะท้อนของผู้ดำเนินโครงการควรประกอบด้วยคำถามดังนี้ : อะไรคือจุดแข็งของงานโครงการนี้ การเรียนรู้นี้บรรลุผลอย่างไรในชุมชน อะไรคือปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ พวกเขาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างไร พวกเขาปรับกระบวนการให้เหมาะสมกับชุมชนอย่างไร มีการผสมผสานกระบวนการในโครงการอย่างไรจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด
คำถามประกอบกิจกรรม ขั้นตอนที่ 6 การสะท้อนประสบการณ์การเรียนรู้จากโครงการ
โจทย์กลุ่มย่อย ให้วิทยากรกระบวนการในการทำโครงการ แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. ความสำเร็จที่ภาคภูมิใจในการทำโครงการนี้มีอะไรบ้าง 2. ความสำเร็จนั้นมีกระบวนการทำงานอย่างไร 3. มีเงื่อนไขปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จ 4. ถ้าจะต้องจัดโครงการใหม่อีกครั้ง ท่านจะมีข้อเสนออะไร วิธีการ คิดใคร่ครวญคนเดียว นำเสนอแลกเปลี่ยนในกลุ่ม และสรุป ให้แต่ละกลุ่มคัดเลือก ประธานที่ประชุม/ผู้จดบันทึก/ผู้นำเสนอ
ความสำเร็จความภาคภูมิใจ ได้รับความสนใจจากนักเรียน จำนวนมาก นักเรียนเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ (มีส่วนร่วม) นักเรียนปรับเปลี่ยนแนวคิดในการเลือกปัญหา และแนวทางแก้ไข เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม นำไปเผยแพร่ต่อ สามารถลบล้างระบบการดำเนินงานแบบเดิมๆ นักเรียนมีความรู้แยกแยะถูกผิด รู้จักบทบาทตัวเอง นักเรียนตื่นตัวทางประชาธิปไตย การเมือง ทีมวิทยาการมีความสุข เนื่องจากทุกคนได้มีส่วนร่วม
เงื่อนไข/ปัจจัย แห่งความสำเร็จ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ข้อเสนอแนะ ทำต่อเนื่อง สม่ำเสมอ นโยบายชัดเจนมากกว่านี้ ให้ทุกภาคส่วนทุกกลุ่ม ทุกวัยเข้าร่วมให้มากที่สุด จัดโครงการให้กว้างขวาง เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอ ให้วิทยากรท้องถิ่นเข้าร่วม ให้มีการพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ ควรมีศูนย์การเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม มีสื่อการเรียนรู้ ให้ความรู้ผ่านสื่อท้องถิ่น หอกระจายข่าว จัดรางวัล เกียรติบัตร เครื่องหมาย ให้อาสาสมัคร กกต. จัดพิธีลงนามความร่วมมือกับองค์กร
ความรู้ ทักษะ เจตคติ การเตรียมการเป็นพลเมืองประชาธิปไตย ความมุ่งมั่น ความสามารถ ความเชื่อมั่น มีความรู้และ เหตุผล ทักษะ เจตคติ ความมุ่งมั่น 12