PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การพัฒนาองค์กร กรมอนามัย เรื่อง PMQA
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประชุม การพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย ในการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการระดับพื้นฐาน 9 เมษายน 2556 ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

หัวข้อการนำเสนอ รู้จัก PMQA สาระสำคัญของเกณฑ์ PMQA สรุปผลการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified Fundamental Level) เราจะร่วมกันพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ต่อไปอย่างไร

PMQA คืออะไร 1 PMQA มาจาก “Public Sector Management Quality Award” : การพัฒนาคุณภารการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA เป็นเครื่องมือตรวจประเมินองค์กร และปรับปรุงองค์กร โดยมองภาพองค์รวมทั้ง 7 หมวด เพื่อ มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์การให้มีระบบที่ดี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องยั่งยืน และมีความเป็นมาตรฐาน 1 2

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทำไมต้องทำ PMQA ภาครัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน เป้าหมายของการพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ทำให้องค์กรสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นอยู่เสมอ แก่ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม เกิดการปรับปรุงประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และ ขีดความสามารถขององค์กร เกิดการเรียนรู้ขององค์กรและระดับบุคคล ซึ่งจะนำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

สาระสำคัญของเกณฑ์ PMQA 2 PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล 1. การนำ องค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนิน การ 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร คำอธิบาย PMQA Model ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ลักษณะสำคัญขององค์กร เป็นการอธิบายภาพรวมของส่วนราชการ สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติภารกิจ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติราชการ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์และระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ ซึ่งเป็นแนวทางที่ครอบคลุมระบบการบริหารจัดการ การดำเนินการขององค์กรโดยรวม ประกอบด้วย 2 หัวข้อ ได้แก่ 1) ลักษณะองค์กร และ 2) ความท้าทายต่อองค์กร เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ส่วนราชการต่าง ๆ สามารถนำไปปรับใช้ได้ หากแต่ส่วนราชการต่าง ๆ มีภารกิจและกระบวนการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันไป ดังนั้นสิ่งที่จะทำให้เข้าใจถึงส่วนราชการนั้น ๆ และสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่ามีความสำคัญเพื่อให้เกิดการนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม คือ ลักษณะสำคัญขององค์กร

คำอธิบาย PMQA Model ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด มีความเชื่อมโยงในเชิงระบบ โดยสามารถอธิบายเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 2.1 ส่วนที่เป็นกระบวนการ สามารถแบ่งตามลักษณะการปฏิบัติการได้ 3 กลุ่มย่อย ดังนี้ กลุ่มการนำองค์กร ได้แก่ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ และหมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกณฑ์เหล่านี้ถูกจัดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเน้นให้เห็นความสำคัญว่าในการนำองค์กร ผู้บริหารของส่วนราชการต้องกำหนดทิศทางของส่วนราชการ โดยต้องมีการมุ่งที่ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากรูปข้างบน จะเห็นว่า ทั้ง 3 หมวดนี้มีลูกศร 2 ข้างซึ่งแสดงว่าทั้ง 3 หมวดนี้ ต้องมีการปฏิสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลา กลุ่มปฏิบัติการ ได้แก่ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล และหมวด 6 การจัดการกระบวนการ กลุ่มนี้แสดงให้เห็นว่า ทั้งบุคลากรและกระบวนการมีบทบาท ในการทำให้การดำเนินงานสำเร็จ และนำไปสู่ผลลัพธ์การดำเนินการ ของส่วนราชการ ดังจะเห็นได้จากรูปว่า มีลูกศร 2 ข้างเชื่อมโยงกันอยู่

คำอธิบาย PMQA Model กลุ่มพื้นฐานของระบบได้แก่ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ กลุ่มนี้ส่งผลให้ส่วนราชการมีการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิผล และมีการปรับปรุงผลการ ดำเนินการโดยใช้ข้อมูลจริงและองค์ความรู้เป็น แรงผลักดัน จากรูปจะเห็นว่ามีลูกศร 2 ข้าง เชื่อมโยงกับหมวด 1 การนำองค์กร ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าผู้บริหารของส่วนราชการจำเป็นต้องมี ข้อมูลจริงเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ส่วนลูกศร 2 ข้างที่เชื่อมโยงกับหมวด 7 ผลลัพธ์การ ดำเนินการ แสดงให้เห็นว่าต้องมีการวัด การ วิเคราะห์เพื่อให้สามารถรายงานผลลัพธ์การ ดำเนินการของส่วนราชการ นอกจากนี้ ยังมี ลูกศรใหญ่ที่เชื่อมโยงระหว่างหมวด 4 กับหมวด อื่น ๆ ทุกหมวด แสดงให้เห็นว่าในการบริหาร จัดการนั้นต้องมีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศอยู่ ตลอดเวลา 2.2 ส่วนที่เป็นผลลัพธ์ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ส่วนนี้เป็นการตรวจประเมินใน 4 มิติ ที่สอดคล้องกับ คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผลตาม พันธกิจ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติ ราชการ และ มิติด้านการพัฒนาองค์กร โดยลูกศรแนวนอนที่ตรงกลางของภาพ แสดงการเชื่อมโยงของกลุ่มการนำ องค์กรและกลุ่มปฏิบัติการ กับส่วนที่ เป็นผลลัพธ์ และชี้ให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ระหว่างหมวด 1 การนำองค์กรกับหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร ลักษณะสำคัญขององค์กร ลักษณะขององค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร พันธกิจ หน้าที่ตามกฎหมาย วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์หลัก ค่านิยม วัฒนธรรม ลักษณะโดยรวมของบุคลากร เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก การจัดโครงสร้างองค์กร ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือใคร การให้บริการ การสื่อสารระหว่างองค์กร สภาพการแข่งขัน ความท้าทาย เชิงยุทธศาสตร์ ระบบการปรับปรุง ผลการดำเนินการ ประเด็นการแข่งขัน จำนวนคู่แข่งขัน ผลการดำเนินการเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน ความท้าทายตามพันธกิจ ความท้าทายด้านปฏิบัติการ ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล วิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดผลงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้ขององค์กร

การนำองค์การ หมวด 1 กำหนดทิศทางการนำที่ชัดเจน :- วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ LD 1 กำหนดทิศทางการนำที่ชัดเจน :- วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ วัฒนธรรมองค์กร/เป้าประสงค์ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง LD 4 LD 1 ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน - ความต้องการ/คาดหวัง C/SH - การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ผลกระทบต่อชุมชน ข้อมูลบุคลากร ผลการดำเนินงาน สื่อสาร สร้างความเข้าใจ แก่บุคลากร LD 4 สร้าง บรรยากาศ จัดลำดับตัวชี้วัดที่สำคัญ มอบอำนาจ การตัดสินใจ LD 2 ตัวชี้วัดงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ LD 4 ทบทวน ผลการดำเนินการ ส่งเสริมกิจกรรม การ เรียนรู้ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ LD 3 ระบบเตือนภัย Data Center

ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 1 ความรับผิดชอบต่อสังคม การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม กำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สื่อสาร สร้างความเข้าใจแก่บุคลากร ติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง LD 5 LD 6 การทำงานที่มีผลกระทบต่อสังคม LD 7 เชิงรับ- แก้ไข เชิงรุก - คาดการณ์ ป้องกัน

การจัดทำยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์ หมวด 2 ทิศทางองค์กร หมวด 2 การจัดทำยุทธศาสตร์ ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม ปัจจัยภายนอก การวางแผนยุทธศาสตร์ ความท้าทายของ องค์กร ปัจจัยภายใน ผลการดำเนินงาน ที่ผ่านมา ความต้องการ C/SH SP 1 SP 2 ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก

การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก ถ่ายทอดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ระดับหน่วยงาน SP 5 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ SP 4 SP 7 บริหารความเสี่ยงแผนงาน/โครงการที่สำคัญ แผนปฏิบัติการระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย แผนงาน แผนคน SP 3 SP 6 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล จัดสรรทรัพยากร ติดตาม ผลการดำเนินงาน ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่บุคคล เพื่อนำไปปฏิบัติ

ต้องการให้เป็นบริการ การจัดการข้อร้องเรียน หมวด 3 การเรียนรู้ความต้องการและสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Develop products Service products After sales End-User Customer Customer Needs รับฟังความ คิดเห็น - ต้องการ - คาดหวัง แปลงความ ต้องการให้เป็นบริการ สร้างความ สัมพันธ์ สร้างการมี ส่วนร่วม จำแนกกลุ่ม C/SH CS 4 CS 5 ให้บริการตามมาตรฐาน CS 1 CS 2 CS 7 หมวด 2 หมวด 6 วัดความพึงพอใจ /ไม่พึงพอใจ CS 6 ผู้รับบริการ การจัดการข้อร้องเรียน CS 3

วางระบบการจัดการ หมวด 4 หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ผลการดำเนินการ การจัดการสารสนเทศและความรู้ ฐานข้อมูล เลือกข้อมูลสารสนเทศ สนับสนุนการดำเนินงานยุทธศาสตร์ IT 1 คำรับรองการปฏิบัติราชการ รวบรวมข้อมูล ตัวชี้วัดสำคัญ วิเคราะห์ผล สนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่า IT 2 สนับสนุนกระบวนการสนับสนุน IT 3 สื่อสารผลการวิเคราะห์ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย วางระบบการจัดการ IT 7 การจัดการความรู้ ระบบติดตาม เฝ้าระวังเตือนภัย IT 5 องค์ความรู้ การรักษาความมั่นคงปลอดภัย ข้อมูล สารสนเทศ ที่ประชาชนเข้าถึง IT 4 รวบรวม/จัดเป็นระบบ IT 6 ระบบรักษาความปลอดภัย ข้อมูลส่วนราชการ งานบริการ ผลการดำเนินงาน ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยน แผนแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ นำไปใช้ประโยชน์ การบริหารความเสี่ยง

การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล สร้างความผาสุกและ ความพึงพอใจของบุคลากร HR 1 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ปรับปรุงปัจจัยดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและเกิดความผูกพันต่อองค์การ ระบบการประเมินผล HR 2 มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น แผนกลยุทธ์ด้านการ บริหารทรัพยากรบุคคล HR 3 ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 เพื่อให้มีสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมาย การประกันคุณภาพ การฝึกอบรม HR 4 มีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร HR 5 การจัดทำเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ มีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร 1616

การจัดการกระบวนการ หมวด 6 สร้างคุณค่า กำหนดกระบวนการ สนับสนุน หมวด 6 การจัดการกระบวนการ สร้างคุณค่า - สอดคล้องยุทธศาสตร์และพันธกิจ - ความต้องการของ C/SH (หมวด3) กำหนดกระบวนการ สนับสนุน PM 1 - ความต้องการของ C/SH (หมวด3) - ประสิทธิภาพของกระบวนการ - ความคุ้มค่าและลดต้นทุน - ข้อกำหนดด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อกำหนดที่สำคัญ PM 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป - ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติที่เหมาะสม - ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผล ออกแบบกระบวนการ PM 3 จัดทำมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ประกาศใช้ เผยแพร่ PM 5 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อ การจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ประเมินผล นำไปปฏิบัติ ปรับปรุง PM 6 PM 4

การจัดการองค์การตามแนวทาง PMQA การนำองค์การเชิงยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผลลัพธ์การดำเนินงาน การนำ องค์การ กระบวนการสร้างคุณค่า มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ กระบวนการ สนับสนุน มิติด้านประสิทธิผล ตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจ C/SH การจัดทำยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด กลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ ระบบงาน มิติด้านการ พัฒนาองค์การ สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความผาสุกและความ พึงพอใจ ของบุคลากร การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้าง แรงจูงใจ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ การวัดและวิเคราะห์ ผลการดำเนินการ

ลักษณะสำคัญของเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง หรือได้รับรางวัล เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ เกณฑ์แต่ละหมวดมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกัน การประเมินผล ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงานทุกระดับ เพื่อให้หน่วยงานทำการปรับปรุง ทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไป และอย่างก้าวกระโดด

ตามแนวทาง PMQA อย่างไร 3 กรมอนามัยดำเนินการ ตามแนวทาง PMQA อย่างไร

การดำเนินงาน PMQA ของกรมอนามัย ปี 2548 ปี 2549-2551 ปี 2552-2554 ปี 2555 ให้ความรู้ แก่ทีมนำ ของหน่วยงาน เป็นKPIของกรม ให้ความรู้แก่ทีมนำ ของหน่วยงาน มีหน่วยงานต้นแบบ 7 หน่วย ตรวจเยี่ยมหน่วยงาน เป็นKPIของกรม ใช้เกณฑ์ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เป็นกรอบการประเมิน เลือกปีละ2 หมวด - ปี2552 หมวด 3 6 - ปี2553 หมวด 1 4 - ปี2554 หมวด 2 5 วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ ใช้ Survey Online ความพึงพอใจต่อการพัฒนาองค์การ เป็น KPIกรม เจ้าภาพหมวดกำกับดูแลให้มีการดำเนินการระบบงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เรื่องที่ต้องให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ ใช้การประสานงานตามระบบราชการ โดยไม่กำหนดเป็น KPI เป็นKPI หน่วยงานทำเต็มรูปแบบ และส่งแผนพัฒนาองค์กร 2 แผน/ปี เป็นKPI หน่วยงานโดยร่วมทำส่วนที่เกี่ยวข้อง

เจ้าภาพหลักในการดำเนินการ กำหนดให้หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่หลักในเรื่องนั้น ๆ เป็นเจ้าภาพหลักในการกำกับดูแล ให้มีการดำเนินการ ลักษณะสำคัญขององค์การ  กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร การนำองค์การ และการสื่อสาร  กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์  กองแผนงาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  สำนักงานเลขานุการกรม การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้  กองแผนงาน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล  กองการเจ้าหน้าที่ การจัดการกระบวนการ  สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองคลัง

ขั้นตอนการดำเนินการ PMQA ประเมินองค์กร ตนเอง (ADLI) จัดทำลักษณะ สำคัญขององค์กร หาส่วนขาด (OFI) * จัดลำดับ ความสำคัญ ของโอกาส ในการ ปรับปรุง ประเมินผล การดำเนิน งานและ ปรับปรุง อย่าง ต่อเนื่อง ดำเนินการปรับปรุง ตามแผน จัดทำแผน ปรับปรุง * OFI= Opportunity for Improvement : โอกาสในการปรับปรุง

มิติ/ ปัจจัยที่ใช้ในการประเมิน กระบวนการ (หมวด 1-6) ผลลัพธ์ (หมวด 7) A แนวทางหรือวิธีการดำเนินการที่เป็นระบบ Le ระดับของผลการดำเนินการ D การนำแนวทางหรือวิธีการไปปฏิบัติ T อัตรา/ แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลง L มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง C การเปรียบเทียบผลการดำเนินการ ความเชื่อมโยงของตัววัดผล I ระบบมีการบูรณาการสอดประสานกัน Li

Approach Deploy Learning Integration รู้ได้อย่างไรว่าพัฒนาองค์กรมีคุณภาพแล้วหรือยัง Approach มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมหัวข้อส่วนใหญ่ Deploy การนำไปปฏิบัติ ครอบคลุมทั้งแนวดิ่งและแนวนอน Learning มีการทบทวนและปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง Integration ระบบมีบูรณาการสอดประสานกัน ทั้งแนวดิ่งและแนวนอน

4 สรุปผลการตรวจรับรอง คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified Fundamental Level) ของกรมอนามัย โดย ผู้ตรวจประเมินจากสำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556

วัตถุประสงค์ของการตรวจ Certified FL เป็นการตรวจรับรองเพื่อให้มั่นใจว่า ส่วนราชการมีแนวทางหรือระบบต่าง ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการขององค์การ มีการบริหารจัดการตามเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน และมีความพร้อมในการขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในโอกาสต่อไป แนวทางการตรวจประเมิน พิจารณาผลการดำเนินการ 2 ปี คือ ปี 2554 ดูว่ายังคงมีการรักษามาตรฐานการปฏิบัติตามเกณฑ์ ปี 2555 เพื่อดูความต่อเนื่องหรือการปรับปรุงพัฒนาที่ดีขึ้น

จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ ลักษณะสำคัญขององค์กร เริ่มจากการสัมภาษณ์ลักษณะสำคัญขององค์กร แต่ละข้อคำถามเกี่ยวกับ แนวคิดระบบบริหารจัดการ การกำกับดูแลตนเองที่ดี ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกัน เป็นการถามถึงความต้องการขององค์กรที่จะนำไปใช้เป็นพื้นฐานสำคัญในการกำหนดระบบการบริหารจัดการในหมวดต่างๆ หมวด 1 การนำองค์การ เน้นบทบาทของผู้บริหารในการผลักดันองค์การให้บรรลุวิสัยทัศน์ ด้วยการสื่อสารที่ชัดเจนเพื่อทำให้นำไปปฏิบัติและกำกับดูแลใหัดำเนินการตามหลักธรรมาภิบาล

จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เน้นกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ สอดคล้องกับความท้าทายขององค์การ มีการกำหนดตัวชี้วัด ติดตามทบทวนผลการดำเนินการเพื่อให้มีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เน้นการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการของ แต่ละกลุ่ม และการจัดลำดับความสำคัญที่สอดคล้องกับพันธกิจ รวมทั้ง การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ โดยกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ เน้นระบบฐานข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย รวมทั้ง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความพร้อมใช้งานและปลอดภัย ที่นำมาใช้ในสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องแสดงให้เห็นว่า ได้นำข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจหรือบริหารจัดการอย่างไร หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เน้นการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อให้ส่วนราชการบรรลุเป้าประสงค์ทางยุทธศาสตร์ ให้บุคลากรมีความผาสุก ความพึงพอใจ และความผูกพันกับส่วนราชการ รวมทั้งสอดคล้องกับความท้าทายด้านบุคลากรตามลักษณะสำคัญขององค์กร

จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่สนองตอบต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การออกแบบกระบวนการเพื่อให้บรรลุต่อข้อกำหนดของกระบวนการ รวมทั้งการปรับปรุงกระบวนการเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นการ ตรวจสอบผลลัพธ์ของกระบวนการของการดำเนินการตามหมวด 1-6 ว่ามีระดับผลการดำเนินการเป็นอย่างไร

ผลการตรวจประเมินกรมอนามัย หมวด 1 ได้คะแนน 100 หมวด 2 ได้คะแนน 100 หมวด 3 ได้คะแนน 92.22 หมวด 4 ได้คะแนน 80.95 หมวด 5 ได้คะแนน 93.33 หมวด 6 ได้คะแนน 100 หมวด 7 ได้คะแนน 95.84 ค่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 95 (อย่างไม่เป็นทางการ)

เราจะร่วมกันพัฒนาองค์กร ตามแนวทาง PMQA ต่อไปอย่างไร 5 เราจะร่วมกันพัฒนาองค์กร ตามแนวทาง PMQA ต่อไปอย่างไร

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย นโยบาย ให้มีการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยอย่างจริงจัง โดยใช้หลักเกณฑ์/ข้อกำหนด ตามมาตรฐานของ PMQA เป็นเครื่องมือ แนวทาง (11 พฤษภาคม 2555) ระบบงานตามหมวดต่าง ๆ ที่ดำเนินการมาแล้ว ให้หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่หลักในเรื่องนั้น ๆ เป็นเจ้าภาพหลักในการกำกับดูแลให้มีการดำเนินการต่อไป ได้แก่ การนำองค์กร และการสื่อสาร  กพร. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์  กองแผนงาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  สลก. การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้  กองแผนงาน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล  กองการเจ้าหน้าที่ การจัดการกระบวนการ  สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองคลัง

การดำเนินงานของเจ้าภาพหมวด 1-6 การดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัด แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนที่ 1 ดำเนินการตัวชี้วัดที่ 7-11 มิติการพัฒนาองค์การ ร่วมกับกรมอนามัย ส่วนที่ 1 เจ้าภาพหมวดดำเนินการตามเกณฑ์ PMQA ในส่วน ที่ต้องดำเนินการในภาพรวมของกรมอนามัย ส่วนที่ 2 การพัฒนาองค์กรภายในหน่วยงานโดยนำผลการสำรวจออนไลน์มาพิจารณากำหนดแนวทาง ส่วนที่ 2 ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน เพื่อให้ GAP 2 < GAPกลาง ส่วนที่ 3 นำผล Survey Online มาจัดทำแผน พัฒนาปรับปรุงและดำเนินการตามแผน ผลการสำรวจครั้งที่ 1 (17ธ.ค.55 – 4 ม.ค.56)

ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน ส่วนที่ 1 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล ตัวชี้วัดที่ 7 หมวด2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 8 หมวด3 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลแผน/ผลการดำเนินงาน โครงการและงบประมาณให้มีความครบถ้วน และทันสมัย ตัวชี้วัดที่ 9 หมวด4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร กรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 10 หมวด5 ประเด็น การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย(เฉพาะสำนัก ส. สอ. อพ.) หน่วยอื่นดำเนินการตาม SOP ฉบับปี 2556 ตัวชี้วัดที่ 11 หมวด6

ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน หลักการ กรมอนามัยมีเจตนารมณ์ให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาองค์กรเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (กลมกลืนไปกับการปฏิบัติงานปกติ) จึงไม่กำหนดเรื่องนี้เป็นตัวชี้วัด และมีการประเมินผลแบบให้คะแนน เพราะจะทำให้เป็นภาระงานเอกสารและอาจไม่ได้ข้อมูลการพัฒนาองค์กรตามความเป็นจริง แนวทาง : ให้ทุกหน่วยงานดำเนินการพัฒนาองค์กร โดยมีอิสระที่จะเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน และรายงานผลการดำเนินงานให้กรมอนามัยทราบ

ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน (ต่อ) การประเมินผล : ให้เขียนรายงานที่แสดงให้เห็นกระบวนการทำงานและผลที่เกิดขึ้น ตามประเด็นการพัฒนาที่หน่วยงานดำเนินการ เช่น การนำองค์กรและการสื่อสาร การวางแผนของหน่วยงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการฐานข้อมูล สารสนเทศและความรู้ การพัฒนาบุคลากร และการสร้างบรรยากาศการทำงาน การจัดการกระบวนการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานและส่งผลต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของกรมอนามัย (จำนวนประเด็นที่รายงาน ขึ้นอยู่กับความพร้อมของหน่วยงาน)

ใครเกี่ยวข้องกับ PMQA บ้าง ผู้บริหาร ผู้นำ ทีมพัฒนาองค์กร /เจ้าภาพ /คณะกรรมการ เครือข่าย กพร. /ทีมพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน บุคลากรทุกคนในองค์กร

สิ่งที่ทุกคนควรให้ความสำคัญ มุมมองว่า PMQA คือ การเดินทางเพื่อปรับปรุง ที่ไม่มีจุดจบ (อย่าใจร้อน อย่าเบื่อที่จะปรับปรุง) การทำความเข้าใจเกณฑ์ (ทั้งตัวเอง ทีมงาน ทั่วทั้งองค์กร) การบูรณาการระบบต่างๆ อย่างสมดุล การติดตาม/ประเมินผลการดำเนินการ บนฐานข้อมูลจริงเพื่อตัดสินใจ ผู้บริหารเป็นที่พึงให้แก่บุคลากร (การปรับปรุงไม่ได้สำเร็จโดยที่ปรึกษาหรือ คณะทำงานกลุ่มหนึ่ง หรือผู้ตรวจประเมิน)

พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เราจะร่วมมือร่วมใจ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ด้วยกันนะ สวัสดี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย