1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การพัฒนาองค์กร กรมอนามัย เรื่อง PMQA
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Road Map KM 2551.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แผนคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม 1 กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการของ กรมอนามัยและหน่วยงานในสังกัด (การจัดทำคำรับรองฯ และ PMQA)

1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน - องค์ประกอบ ,จำนวน ,บทบาท ของ คณะกรรมการ/คณะทำงาน - คกก./คณะทำงาน ควรมีกี่ชุด อะไรบ้าง แนวคิด/วิธีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ของคณะกรรมการ/คณะทำงาน สรุป ข้อเสนอแนะ 1. คณะกรรมการประสานและสนับสนุน, เจ้าภาพหมวด PMQA และเครือข่าย กพร. ของทั้งส่วนกลางและศูนย์อนามัย ต้องเชื่อมโยงการดำเนินงาน ซึ่งกันและกัน และชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบโดยทั่วกัน 2. เครื่อข่าย กพร. ควรได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องทุกเรื่อง 3. หน่วยงานย่อยภายในกรมอนามัย ต้องมีผู้รับผิดชอบหลัก หรือ เจ้าภาพหลัก ในการดำเนินงาน กพร. 4. ผู้บริหารของหน่วยงานควรให้ความสำคัญกับงาน กพร.

2. บทบาทของผู้บริหาร (อธิบดี รองอธิบดี หัวหน้าหน่วยงาน) เช่น ควรมีบทบาทในการตัดสินใจ เป็นต้น สรุป ข้อเสนอแนะ 1. ผู้บริหารระดับสูงของกรมอนามัย ต้องให้ความสำคัญกับงาน กพร. และ PMQA อย่างจริงจัง เช่น เป็นประธานหมวด PMQA หรือประธาน คณะกรรมการต่างๆ และเข้าร่วมประชุมฯ ด้วยตนเอง 2. สนับสนุน/เสริมสร้าง ขีดความสามารถและความเข้มแข็งของ การดำเนินงาน กพร. 3. กำหนดให้งาน กพร. เป็น KPI รายบุคคลของผู้บริหารฯ เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น วัดจำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม หมวด 1 ,การมีส่วนร่วม/แสดงความคิดเห็นในเรื่อง กพร. ฯลฯ 4. ผู้บริหารต้องร่วมรับผิดชอบในตัวชี้วัด กพร. หรือการตัดสินใจ เช่น การนำองค์กร

3. การนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน สรุป ข้อเสนอแนะ 1. กองแผนงาน เจ้าภาพตัวชี้วัด และเจ้าภาพหมวด PMQA ควรมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน 2. บูรณาการการนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน กพร. และ PMQA ร่วมกับระบบนิเทศติดตามงานของผู้บริหารกรมอนามัย

4. การสนับสนุนการดำเนินงานของกรมอนามัยต่อหน่วยงานในสังกัด สรุป ข้อเสนอแนะ 1. กรมอนามัย ควรสนับสนุนงบประมาณในการจัดการประชุมฯ ให้กับ เจ้าภาพหมวดของ PMQA หรือเจ้าภาพตัวชี้วัดสำคัญของกรมอนามัยอย่าง เหมาะสม 2. ควรมีการจัดทำเกณฑ์ในการสนับสนุนแรงจูงใจ ให้กับผู้รับผิดชอบงาน กพร. ของหน่วยงาน และมีระบบการควบคุมกำกับให้มีการปฏิบัติตามเกณฑ์ฯ

5. ความร่วมมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สรุป ข้อเสนอแนะ 1. สร้างกลไกการประสานความร่วมมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ช่น เพิ่มความถี่ ในการจัดประชุม และการสื่อสารข้อมูล 2. ผู้เข้าร่วมประชุมเครือข่าย กพร. หรือ PMQA หมวดต่าง ๆ องค์ประกอบ ของผู้เข้าร่วมประชุมควรประกอบด้วย เครื่องข่าย กพร. และเจ้าภาพหมวด PMQA

6. วิธีการพัฒนาระบบราชการที่มั่นคงและยั่งยืน สรุป ข้อเสนอแนะ 1. หน่วยงานย่อย ควรจัดให้มีโครงสร้างงาน กพร. ที่ชัดเจน 2. หน่วยงานย่อย ควรกำหนดให้มีผู้รับผิดชอบงาน กพร., PMQA, และงานยุทธศาสตร์ และให้ถือเป็นบทบาทภารกิจประจำ 3. กรมอนามัย ต้องใช้ PMQA เป็นเครื่องมือในการจัดทำ แผนปฏิบัติงาน/โครงการ 4. กลุ่มสนับสนุนวิชาการต้องมีศักยภาพในการบูรณาการงาน กพร. PMQA และแผนยุทธศาสตร์

7. ปฏิทินการปฏิบัติงาน เช่น ระยะเวลาการจัดทำคำรับรองฯ เป็นต้น สรุป ข้อเสนอแนะ 1. เลื่อนขั้นตอนการลงนามในคำรับรองฯ ของกรมอนามัย เป็นภายในเดือนธันวาคม 2. การประชุมเครือข่าย เพื่อชี้แจงเกณฑ์ประเมินให้แก่หน่วยงาน ให้เป็นภายในเดือนธันวาคม