แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ 19 – 20 กรกฎาคม 2553 ณ ห้องประชุม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง

ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น ในจังหวัดระยอง วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ มีทักษะและมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม เข้มแข็ง และมีภูมิต้านทาน มีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อสังคม อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต

ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดระยอง ภายใน 4 ปี (2553 – 2556) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิต มีพฤติกรรมการอนามัย เจริญพันธุ์ที่ถูกต้องเหมาะสม ครอบครัวอบอุ่น มีทักษะและความพร้อมในการ ดูแลลูกวัยรุ่น ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวังสุขภาพวัยรุ่น ระดับภาคี ตำรวจ/อัยการ จัดมาตรการคุ้มครองสิทธิเด็ก สธ. จัดบริการที่เป็นมิตรและเข้าถึงวัยรุ่น วัฒนธรรม จัดพื้นที่ให้เอื้อต่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิต สพท. ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน มหาดไทยและสำนักงานจังหวัด กำหนดนโยบายและจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูล สถานพินิจคืนเด็กดีสู่สังคม แรงงาน ส่งเสริมอาชีพและรายได้ พมจ. พัฒนาครอบครัว ท้องถิ่นสร้างสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมสร้างสรรค์และ สนับสนุนงบประมาณ ประชาสัมพันธ์จังหวัด พัฒนาสื่อและสร้างองค์ความรู้ หน่วยงานเอกชนสนับสนุนชุมชน ระดับกระบวนการ มีระบบบริหารภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ มีระบบการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการติดตามประเมินผล มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ มีระบบบริการและสนับสนุนสวัสดิการ ระดับพื้นฐาน องค์กรมีความยืดหยุ่น/ มีแนวนโยบายแนวทางการดำเนินงาน เรื่องเด็กและเยาวชนที่ชัดเจน - บุคลากรมีทักษะ/สมรรถนะเกี่ยวกับเด็ก มีระบบข้อมูลที่ทันสมัยและเข้าถึงง่าย

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นจังหวัดระยอง (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖ วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ มีทักษะและมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม เข้มแข็ง และมีภูมิต้านทาน มีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อสังคม อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต วัยรุ่นและเยาชนมีความรู้ มีทักษะ ตระหนัก พฤติกรรมที่เหมาะสม มีส่วนร่วมในการพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ ● ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ฯ ● ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรร ● ส่งเสริมการมีส่วนรวมของวัยรุ่นฯ ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง ●ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ●สร้างโรงเรียนครอบครัว ●พัฒนาศักยภาพครอบครัว ชุมชนเข้มแข็งมีระบบเฝ้าระวัง ●สร้างความตระหนักและส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ สร้างมาตรการทางสังคม ระดับประชาชน (Valuation) อปท./บริษัทห้างร้านสร้างสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการทำแผนแบบบูรณาการ ส่งเสริมการทำประชาคม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สพท.พัฒนาหลักสูตร พัฒนาสื่อ/หลักสูตรการเรียนการสอน พัฒนากระบวนการเรียนรู้ พัฒนาระบบการติดตามประเมินผล สธ สนับสนุนสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบการช่วยเหลือแบบองค์รวม พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ตร/อัยการ/วัฒณฯ/ปชส /พมจสนับสนุนสวัสดิการ จัดโซนนิ่ง คุ้มครองสิทธิเด็ก เร่งรัดการประชาสัมพันธ์ (Stakeholder) ระดับภาคี มีองค์ความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ส่งเสริมและพัฒนาช่องทางการเข้าถึง มีการจัดการการเรียนรู้/ถ่ายทอดสู่ชุมชน มีระบบการติดตามประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร จัดทำแนวทางการประเมินผล ส่งเสริมการใช้แผนที่ฯ มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย สร้างมีส่วนร่วม สร้างหน่วยงานเจ้าภาพหลัก พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มีระบบการประสานงาน/การสื่อสารที่ดี พัฒนาระบบการสื่อสาร/ปชส ส่งเสริมการประชาสัมพันธุ์ จัดตั้งศูนย์การประสานงานระดับจังหวัด ระดับกระบวนการ องค์กรมีความเอื้ออาทร /มีนโยบายแนวทางชัดเจน กำหนดนโยบายการดำเนินงานชัดเจน สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่มองค์กร ส่งเสริมองค์การเรียนรู้ มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัยเข้าถึงง่าย พัฒนาผู้ดูแลและผู้ใช้ ประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุม บุคลากรมีความรู้ ทักษะอย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับ พื้นฐาน 5 5

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดระยอง ภายในปี 2554 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 19-20 กรกฎาคม 2553 วัยรุ่นและเยาชนมีความรู้ มีทักษะ ตระหนัก พฤติกรรมที่เหมาะสม มีส่วนร่วมในการพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ ● ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ฯ ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง ●สร้างโรงเรียนครอบครัว ประชาชน ชุมชนเข้มแข็งมีระบบการเฝ้าระวัง สร้างมาตรการทางสังคม อปท.บริษัทห้างร้านสร้างสิ่งแวดล้อมสนับสนุนทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการทำแผนแบบบูรณาการ สพท.ปรับปรุงหลักสูตร พัฒนาสื่อ/หลักสูตรการเรียนการสอน ตร อัยการ วัฒณฯ ปชส พมจ ส่งสริมคุณภาพชีวิต จัดโซนนิ่ง ภาคี สธ สนับสนุนสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น มีระบบการประสานงาน/การสื่อสารที่ดี พัฒนาระบบการสื่อสาร/ปชส มีระบบการติดตามประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำแนวทางการประเมินผล มีองค์ความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรม กระบวนการ มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย สร้างมีส่วนร่วม องค์กรมีความเอื้ออาทรมีนโยบายชัดเจน สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่มองค์กร มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัยเข้าถึงง่าย พื้นฐาน บุคลากรมีความรู้ ทักษะอย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6 6

สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด(จากตาราง 11ช่อง) ๐๔/๐๔/๖๐ กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด(จากตาราง 11ช่อง) KPIต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1 7

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นและเยาวชนมี ความรู้ ทักษะ ตระหนัก พฤติกรรมที่เหมาะสม มี ส่วนร่วมในการพัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการ เจริญพันธุ์ 1.อบรมเด็กและ เยาวชนใน สถานศึกษาทั้งใน ระบบ/นอกระบบ 2.จัดค่ายเยาวชนเพื่อ กระตุ้นและส่งเสริม เยาวชนให้มีแนวคิดที่ ดี 3.รณรงค์เพื่อลด ปัญหาการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอัน สมควร ทุกตำบลมีเด็กดีศรี ระยอง สพท. เขต 1 สพท. เขต 2 สำนักงาน กศน. อปท. สสจ.ระยอง สสส. พมจ.ระยอง วธ (กระทรวง วัฒนธรรม) ยธ 8 8

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2. ครอบครัวมีความ อบอุ่นและเข้มแข็ง สร้างโรงเรียน ครอบครัว 1.จัดทำหลักสูตร/ เนื้อหาวิชาของ โรงเรียนครอบครัว 2.ประชาสัมพันธ์/รับ สมัครครอบครัวแกน นำ 3.จัดอบรมแกนนำ ครอบครัว 4.จัดตั้งชมรม 5.ดำเนินการจัด กิจกรรมของโรงเรียน ครอบครัว 6.จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยน/การ ติดตาม 7.ประเมินผลและ รายงาน มีเครือข่ายครอบครัว ทุกตำบล พมจ สธ. อปท ศธ สำนักพุทธศาสนา มท วธ ปชส 9 9

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนเข้มแข็งมี ระบบเฝ้าระวัง สร้างมาตรการการเฝ้า ระวังทางสังคม 1.สร้างเครือข่ายแกน นำเฝ้าระวังพฤติกรรม 2.จัดตั้งศูนย์สำหรับ แจ้งเบาะแสในชุมชน 3.เครือข่ายแกนนำ สามารถสอดส่อง พฤติกรรมเสี่ยงและ แจ้งเบาะแสแก่ ผู้เกี่ยวข้อง 4.รณรงค์ปลูก จิตสำนึกสร้างค่านิยม รักนวลสงวนตัว 5.จัดเวทีประชาคม สร้างมาตรการร่วมกัน ทุกชุมชนมีมาตรการ เฝ้าระวังฯ ทางสังคม อปท. พมจ. ตำรวจ มหาดไทย กศน. ปชส. สธ 10 10

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4. สร้างสิ่งแวดล้อม/ ทรัพยากรอย่าง ต่อเนื่อง ส่งเสริมการทำแผน แบบบูรณาการ 1.จัดทำแผนสุขภาวะ เด็กแบบบูรณาการ 2.ระดมทรัพยากรเพื่อ สนับสนุนอนามัยเจริญ พันธุ์ 3.จัดให้เกิดศูนย์การ เรียนรู้/ลานกีฬา พื้นที่ สีเขียว และเวที แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ สำหรับเด็กและ เยาวชนที่ตรงตาม ความต้องการ และ กลุ่มเด็กและเยาวชนมี ส่วนร่วม 4.ติดตามและ ประเมินผล การดำเนินงานทุกปี มีพื้นที่ที่เอื้อต่อการ พัฒนาเด็กและ เยาวชน อปท. สนจ. กนอ. ห้างร้านต่างๆ 11 11

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 5. พัฒนาหลักสูตร พัฒนาสื่อ/ กระบวนการเรียนรู้ 1.จัดตั้งคณะทำงาน พัฒนาสื่อและ กระบวนการเรียนรู้ 2.พัฒนากระบวนการ เรียนรู้ด้านอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 3.จัดกระบวนการ เรียนรู้ด้านอนามัย เจริญพันธุ์ในคลังภูมิ ปัญญาอำเภอละ1แห่ง เป็นอย่างน้อย 4.ติดตามประเมินผล กระบวนการเรียนรู้ด้าน อนามัยเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสมกับชุมชนนั้นๆ สสจ.ระยอง สพท.1,2 กศน. อปท พมจ.ระยอง ปชส. ระยอง สนง. สถิติ ระยอง กศน. ระยอง 12 12

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 6.สนับสนุนสถาน บริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น พัฒนาสถานบริการที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่น 1.พัฒนาสถานบริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล หน่วยงานที่มีกลุ่มเด็ก และเยาวชน ติดต่อ เกี่ยวข้อง 2.จัดอบรมบุคลากร และแกนนำเยาวชนที่ เกี่ยวข้องกับสถาน บริการ 3.พัฒนาภาคี เครือข่ายในการ ส่ง- ต่อ ข้อมูลข่าวสารและ การดูแลบริการอย่าง ต่อเนื่องรวมทั้งการ ติดตาม ทุกชุมชนมีสถาน บริการอนามัยเจริญ พันธุ์ที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น สสจ.ระยอง กศน. สพท. อปท โรงเรียนใน จ. ระยอง บ้านพักฉุกเฉิน (พมจ.) ศูนย์วัฒนธรรม จ. ระยอง ศูนย์ฝึกและสถาน พินิจ จ.ระยอง 13 13

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 7. ส่งเสริมคุณภาพ ชีวิต จัดระเบียบสังคม 1.จัดระเบียบสังคม 2.บังคับใช้มาตรการ ในการคุ้มครองสิทธิ เด็ก (ตามพรบ. คุ้มครองเด็ก) เช่น การกำหนดบท ลงโทษสำหรับสถาน บริการที่ละเมิดไม่ ปฏิบัติตาม 3.บังคับใช้พรบ. ร้าน คาราโอเกะ ร้านเกมส์ ปัญหาจาก พฤติกรรมทางเพศที่ ไม่เหมาะสมในกลุ่ม เยาวชนลดลง ตำรวจ ปกครอง วัฒนธรรมจังหวัด อัยการ ปชส. พมจ. สนง. สถิติ 14 14

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 8.มีองค์ความรู้และ นวัตกรรม ส่งเสริมการสร้าง และพัฒนานวัตกรรม 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ภาคีสังเคราะห์และ ถอดบทเรียน 2.จัดทำคู่มืออนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 3.ประชาสัมพันธ์คู่มือ ให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมอนามัยเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น สธ. พมจ. สนจ. อบจ. กศน. สพท 1 สพท 2 อปท. ตร/อัยการ สถานพินิจ 15 15

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 9.มีระบบการติดตาม ประเมินผลอย่างมี ประสิทธิภาพ จัดทำแนวทางการ ประเมินผล 1.แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและ ประเมินผล 2.สัมมนาคณะทำงาน ติดตามและ ประเมินผล(กำหนด ตัวชี้วัดร่วม) 3.จัดทำแผนการ ติดตามและ ประเมินผล 4.พัฒนาระบบการ ติดตามและ ประเมินผล 5.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้เชิดชูพื้นที่ที่มี ผลงานดีเด่น ทุกอำเภอมีระบบ การติดตามประเมินผล สสจ.ระยอง - สสอ. อปท. กศน. สพท. วธ พม. ภาคประชาชน 16 16

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 10. มีระบบบริหารภาคี เครือข่าย สร้างมีส่วนร่วม 1.แต่งตั้งคณะทำงาน การพัฒนางานอนามัย เจริญพันธุ์ทุกระดับ (จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล/หมู่บ้าน) 2.สัมมนาคณะทำงาน การพัฒนางานอนามัย เจริญพันธุ์สร้างความรู้ ความเข้าใจ 3.จัดทำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ อนามัยเจริญพันธุ์ใน พื้นที่ร่วมกันระหว่าง ภาคีเครือข่าย มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่นทุกระดับ (จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล/หมู่บ้าน) สสจ.ระยอง ปกครองจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด พัฒนาชุมชน จังหวัด เกษตรจังหวัด พัฒนาสังคม จังหวัด สำนักงานจังหวัด (งานยุทธศาสตร์) เหล่ากาชาด 17 17

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 11.มีระบบการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ที่ดี พัฒนาระบบการ สื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ 1.จัดอบรมพัฒนา ความรู้และทักษะ เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง ในเรื่องการสื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ อย่างไรให้ประสบ ความสำเร็จและเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย 2.สนับสนุน งบประมาณ ทรัพยากร ในการสื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ 3.สร้างช่องทางการ สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้ เช่น สถานีวิทยุ,สื่อ โทรทัศน์, Internet ตามห้างสรรพสินค้า โรงเรียน เป็นต้น เด็กและเยาวชนมีส่วน ร่วมกิจกรรมในอนามัย เจริญพันธุ์เพิ่มขึ้น คณะอนุกรรมการ เจริญพันธุ์ระดับจังหวัด อบจ. อบต./เทศบาล 18 18

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 12. องค์กรมีความเอื้อ อาทร/มีนโยบาย แนวทางชัดเจน สร้างเครือข่าย ประสานงาน ระหว่างองค์กร 1.จัดประชุม เพื่อกำหนด วัตถุประสงค์ วางแผนการ ดำเนินงานและการติดตาม ประเมินผล 2.กำหนดนโยบายองค์กร 3.การติดตามผลการ ดำเนินงานเพื่อนำมา ปรับปรุงต่อไป -กำหนดเป็นวาระ ของจังหวัด -ทุกหน่วยงานมี นโยบายที่ชัดเจน คณะอนุกรรมการ พัฒนางานอนามัยเจริญ พันธุ์ระดับจังหวัด สสจ.ระยอง องค์ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด 19 19

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 13.มีระบบฐานข้อมูล ที่ทันสมัย พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลให้ทันสมัย เข้าถึงง่าย 1.พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น -สำรวจข้อมูลที่ ต้องการ -รวบรวม,จัดเก็บอย่าง มีระบบ (IT) 2.จัดบอรมผู้ดูแลและ ผู้ใช้ข้อมูล 3.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ทุกชุมชนสามารถ เข้าถึงและใช้ข้อมูลได้ สำนักงานจังหวัด, อปท. สสจ. ปชส ศธ. พม มท วธ 20 20

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 14.บุคลากรมีความรู้ ทักษะอย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 1.แผนการพัฒนา 2.จัดตั้งคลังภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านสุขภาพเด็ก และเยาวชน 3.อบรมบุคลากร (ผู้บริหาร จนท.ผู้ปฏิบัติงาน) 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างหน่วยงาน 5.ประเมินผลการ ปฏิบัติงานทุก 3 เดือน 1.ประสิทธิภาพของ บุคลากรในหน่วยงาน เพิ่มขึ้น 2.ผลการดำเนินงาน ภาพรวมขององค์กรเน้นใช้ ตามนโยบายทั่วไป 3.การดำเนินงานทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 4.ประสิทธิภาพของ บุคลากรในหน่วยงานมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 5.การประสานงานระหว่าง หน่วยงาน/องค์กรมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 6.เกณฑ์มาตรฐานในการ ปฏิบัติงานทางด้านการ พัฒนาอนามัย/สาธารณสุข จังหวัดระยอง/สสจ. ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 21 21