การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ.
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
การทดลอง วัดปริมาตรของน้ำ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การนับเบื้องต้น Basic counting
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
การวัด จรรยา สินถาวร.
เศษส่วน.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 2 )
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
เราไป กันเลย. ปิดโปรแกรม ข. 11,620 บาท ข. 11,620 บาท ค. 10,620 บาท ค. 10,620 บาท ง. 10,630 บาท ง. 10,630 บาท โดย.. วิภา รัตนพิทย์ 1. สมปองมีเงิน 1,315.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง สองพี่น้อง น. ส. สุพรรษา เคียงสันเทียะ ม.6/2 เลขที่ 13.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน

การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 ) แบบฝึกทักษะชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 )

การแก้โจทย์ปัญหาสัดส่วน มีขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 กำหนดตัวแปรให้กับสิ่งที่โจทย์ปัญหาต้องการ

ขั้นที่ 2 สร้างสัดส่วนตามที่โจทย์กำหนด โดยในการสร้างสัดส่วนสมาชิกตัวแรกของอัตราส่วนทั้งสองต้องเป็นสิ่งเดียวกัน และสมาชิกตัวที่สองของอัตราส่วนทั้งสองต้อง เป็นสิ่งเดียวกัน

ขั้นที่ 3 หาค่าของตัวแปร ขั้นที่ 4 ตรวจคำตอบ

ตัวอย่างที่ 1 อัตราส่วนของจำนวนครูต่อจำนวนนักเรียน เป็น 3 : 105 ถ้าโรงเรียนแห่งหนึ่งมีครู 15 คน โรงเรียนแห่งนี้ควรมีนักเรียนกี่คน

วิธีทำ กำหนดให้ โรงเรียนมีนักเรียน x คน

สัดส่วน =

3  x = 105  15 3 x = 1,575 x = 525

 โรงเรียนมีนักเรียน 525 คน ตอบ 525 คน

ตรวจสอบคำตอบ แทน x = 525 =

1,575 = 1,575

การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 ) Exercise 8 ( ratio ) การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 )

คำชี้แจง จงแสดงวิธีทำจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้

ตัวอย่าง อัตราส่วนของราคาขนมเค้กต่อราคาขนมปัง เป็น 2 : 7 ถ้าขนมเค้กราคา 10 บาท ขนมปังราคาเท่าไร

วิธีทำ กำหนดให้ ขนมปังราคา x บาท =

2  x = 10  7 2x = 70 x = 35

ขนมปังราคา 35 บาท ตรวจสอบคำตอบ แทน x = 35

=

70 = 70

1. อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหญิง เป็น 3 : 4 ถ้ามีนักเรียนหญิง 220 คน จะมีนักเรียนชายกี่คน

วิธีทำ กำหนดให้ จำนวนนักเรียนชาย x คน ...........................................................................................

อัตราส่วนของอายุสมควรต่ออายุสมหมาย เป็น 6 : 5 ถ้าสมควรอายุ 84 ปี สมหมายอายุเท่าไร

วิธีทำ กำหนดให้ สมหมายอายุ x ปี ..........................................................................................

3. อัตราส่วนของความยาวเชือกสีแดงต่อความยาวเชือกสีขาว เป็น 2 : 11 เชือกทั้งสองมีความยาวรวม 286 เซนติเมตร เชือกสีขาวยาวเท่าไร

เชือกสีขาวยาว x เซนติเมตร วิธีทำ กำหนดให้ เชือกสีขาวยาว x เซนติเมตร ..............................................................................................

เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 ) เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 1 )

1. อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหญิง เป็น 3 : 4 ถ้ามีนักเรียนหญิง 220 คน จะมีนักเรียนชายกี่คน

วิธีทำ กำหนดให้ จำนวนนักเรียนชาย x คน =

3  220 = x  4 660 = 4x

x = 165 จำนวนนักเรียนชาย 165 คน

ตรวจสอบคำตอบ แทน x = 165 =

660 = 660

คำตอบ ข้อ 1 x = 165  จำนวนนักเรียนชาย 165 คน

อัตราส่วนของอายุสมควรต่ออายุสมหมาย เป็น 6 : 5 ถ้าสมควรอายุ 84 ปี สมหมายอายุเท่าไร

วิธีทำ กำหนดให้ สมหมายอายุ x ปี =

6  x = 84  5 6x = 420

x = 70  สมหมายอายุ 70 ปี

ตรวจสอบคำตอบ แทน x = 70 =

420 = 420

คำตอบ ข้อ 2 x = 70  สมหมายอายุ 70 ปี

3. อัตราส่วนของความยาวเชือกสีแดงต่อความยาวเชือกสีขาว เป็น 2 : 11 เชือกทั้งสองมีความยาวรวม 286 เซนติเมตร เชือกสีขาวยาวเท่าไร

วิธีทำ กำหนดให้ เชือกสีขาวยาว x เซนติเมตร เชือกสีแดงยาว 2 ส่วน เชือกสีขาวยาว 11 ส่วน ความยาวรวม 2+11 = 13 ส่วน

อัตราส่วนของความยาวเชือกสีขาวต่อความยาวรวม เป็น 11 : 13 =

11  286 = x  13 3,146 = 13x

x = 242  เชือกสีขาวยาว 242 เมตร

ตรวจสอบคำตอบ แทน x = 242 =

3,146 = 3,146

คำตอบ ข้อ 3 x = 242  เชือกสีขาวยาว 242 เมตร

พบกันใหม่ ชุดที่ 9 นะจ๊ะ Good bye