การประชุมสัมมนา กระทรวงมหาดไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
“IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียน IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียนสู่สังคมโลก”
แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การค้ามนุษย์.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
7 อาชีพ ที่น่าสนใจ ทำงานได้เสรี 10 ประเทศอาเซียนใน ปี 2558.
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ประชาคมอาเซียน.
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภายใต้ความตกลงอาเซียน
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการตรวจลงตราและค่าธรรมเนียมคำขออนุญาตเพื่ออยู่ในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราวต่อไปสำหรับคนต่างด้าวสัญชาติเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา.
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
จัดทำโดย ด.ญ. เนตรชนก จีระวัตร์ เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
เรื่อง ธงชาติในอาเซียน
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
A ASEAN E ECONOMICS C COMMUNITY GO TO 31 DECEMBER 2015 FOR THAI CUSTOMS DEPARTMENT นักวิชาการศุลกากร ชำนาญการพิเศษ :
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่ 3 ด. ช. นวพล ไทยอุส่าห์ ม.1/3 เลขที่ 9 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมสัมมนา กระทรวงมหาดไทย “ประชาคมอาเซียนกับผลกระทบต่อกฎหมายไทย” ดร.ชาติชาย เชษฐสุมน โรงแรมรอยัลริเวอร์ วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๑.๓๐ น.

ประชาคมอาเซียน ผลกระทบต่อกฎหมายไทย เรื่องที่จำเป็นต้องรู้ !!! ประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘ กฎหมายไทย คำถามที่นำไปสู่คำตอบ ๑. ที่มาของผลกระทบต่อกฎหมายไทย ? ๒. กระทบต่อกฎหมายไทยอย่างไร ?

๑. ที่มาของผลกระทบต่อกฎหมายไทย ๑. ที่มาของผลกระทบต่อกฎหมายไทย นิติสัมพันธ์ระดับรัฐ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Member States: AMS) ในลักษณะต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นความร่วมมือในลักษณะ “สมาคม” (Association) จนถึงการพัฒนาความร่วมมือระหว่าง AMS สู่การเป็น “ประชาคม” (Community) นิติสัมพันธ์ระดับรัฐฯ คือ อะไร ? นิติสัมพันธ์ระดับรัฐฯ มีอะไรบ้าง ?

นิติสัมพันธ์ระดับรัฐฯ ความสัมพันธ์ระดับหรือระหว่างรัฐที่มีกฎหมายรองรับความสัมพันธ์ กฎหมายที่รองรับความสัมพันธ์ ได้แก่ สนธิสัญญา จารีตประเพณีระหว่างประเทศ หลักกฎหมายทั่วไประหว่างประเทศ

ลักษณะของนิติสัมพันธ์ระหว่าง AMS นิติสัมพันธ์ที่ส่งผลกระทบฯ แบ่งได้ ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑.๑. นิติสัมพันธ์ระหว่าง AMS ภายใต้กรอบอาเซียน ๑.๒. นิติสัมพันธ์ระหว่าง AMS นอกกรอบอาเซียน

๑.๑. นิติสัมพันธ์ฯ ภายใต้กรอบอาเซียน นิติสัมพันธ์ฯ ภายใต้กรอบอาเซียน แบ่งได้ ๔ ลักษณะ ดังนี้ ๑.๑.๑. นิติสัมพันธ์ฯ ในการก่อตั้งสมาคมอาเซียนและพัฒนาสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ๑.๑.๒. นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ในความร่วมมือด้านต่าง ๆ ๑.๑.๓. นิติสัมพันธ์ฯ ในระดับอนุภูมิภาค ๑.๑.๔. นิติสัมพันธ์ระหว่าง ASEAN กับ องค์การระหว่างประเทศอื่น หรือ ประเทศอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ AMS

๑.๑.๑. / ๑ นิติสัมพันธ์ฯ ASEAN – ASEAN Community ปฏิญญากรุงเทพ ๒๕๑๐ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ข้อตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้า ๒๕๑๙ (PTA) ความตกลงว่าด้วยการใช้มาตรการกำหนดอัตราอากรร่วม (CEPT) เพื่อจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

๑.๑.๑. / ๒ นิติสัมพันธ์ฯ ASEAN – ASEAN Community ปฏิญญาบาหลี ๒๕๑๙ วางกรอบความร่วมมือ ๕ เรื่อง + ปรับโครงสร้าง ASEAN วิสัยทัศน์อาเซียน ๒๕๖๓ (ASEAN Visions 2020) ๒๕๔๐ กำหนดเป้าหมายการร่วมมือระหว่างกันจนถึงปี ๒๕๖๓ และทบทวนอีกครั้ง แผนปฏิบัติการฮานอย ๒๕๔๑ (๒๕๔๑ - ๒๕๔๗) วางกรอบการดำเนินงานตามวิสัยทัศน์อาเซียน ๒๕๖๓ ปฏิญญาบาหลีว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (๒) ๒๕๔๖ วางกรอบการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ให้แล้วเสร็จปี ๒๕๖๓

๑.๑.๑. / ๓ นิติสัมพันธ์ฯ ASEAN – ASEAN Community ประชาคมอาเซียน (AC) ... แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ๒๕๔๗ แผนปฏิบัติการต่อเนื่องจากแผนฯ ฮานอย (๒๕๔๗ – ๒๕๕๓) ผลักดันการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ริเริ่มการจัดทำกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ผลักดันการจัดตั้ง APSC / AEC / ASCC ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการจัดทำกฎบัตรอาเซียน ๒๕๔๘ แต่งตั้ง Eminent Persons Group (EPG) และ High Level Task Force (HLTF) ในการจัดทำร่างกฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนแม่บทแห่งกฎบัตรอาเซียน ๒๕๕๐ กำหนดเร่งการดำเนินการจัดตั้งประชาคมอาเซียนจากเดิมภายในปี ๒๕๖๓ เป็น ๒๕๕๘

๑.๑.๑. / ๔ นิติสัมพันธ์ฯ ASEAN – ASEAN Community ประชาคมอาเซียน (ต่อ) ... กฎบัตรอาเซียน ๒๕๕๐ อาเซียนมีสถานะทางกฎหมายเป็นองค์การระหว่างประเทศระดับรัฐบาล และ มีสภาพบุคคล แผนการทำงานสู่ประชาคมอาเซียน ๒๕๕๒(Roadmap to ASEAN Community 2009) ใช้แทนแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ มีระยะเวลา ๒๕๕๒ – ๒๕๕๘ ประกอบด้วย AEC Blueprint ๒๕๕๐ APSC Blueprint ๒๕๕๒ ASCC Blueprint ๒๕๕๒ และ การริเริ่มกรอบการทำงาน เพื่อบูรณาการอาเซียนฯ ปฏิญญาบาหลีว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (๓) ๒๕๕๔ ส่งเสริมบทบาทของอาเซียนในประชาคมโลก //

๑.๑.๒. / ๑ นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๑) นิติสัมพันธ์ด้านความมั่นคง ๒) นิติสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ ๓) นิติสัมพันธ์ด้านสังคมและวัฒนธรรม

๑.๑.๒. / ๒ นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๑) นิติสัมพันธ์ด้านความมั่นคง ; แถลงการณ์ว่าด้วยเขตสันติภาพ เสรีภาพและความเป็นกลาง ๒๕๑๔ (ZOPFAN) สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๒๕๑๙ (TAC) + พิธีสารแก้ไข (ฉ. ๑ / ๒๕๓๐) และ (ฉ. ๒ / ๒๕๔๑) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ๒๕๓๘ (SEANWEZ) ปฏิญญาว่าด้วยการจัดการของภาคีในทะเลจีนใต้ การจัดทำแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้ (COC) สนธิสัญญาอื่น ๆ ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ เช่น สนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนอาเซียน ความร่วมมือป้องกันและต่อต้านการคอรัปชั่น /

๑.๑.๒. / ๓ (๑) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒) นิติสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน แรงงาน ทุน อื่น ๆ

๑.๑.๒. / ๓ (๒) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒.๑) การค้า การค้าสินค้า การค้าบริการ

๑.๑.๒. / ๓ (๒.๑) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ การค้าสินค้า ความตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้า (PTA) ความตกลงว่าด้วยการใช้มาตรการกำหนดอัตราอากรร่วม (CEPT) เพื่อจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความตกลงว่าด้วยศุลกากรอาเซียน ๒๕๔๐ ความตกลงว่าด้วยข้อตกลงรับรองร่วมกันของอาเซียน ๒๕๔๑ สาขาสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ สาขาสินค้าเครื่องสำอาง ความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์อาเซียน ๒๕๔๓ (e - ASEAN) พิธีสารเกี่ยวกับการใช้พิกัดอัตราศุลกากรอาเซียน ๒๕๔๖ (AHTN) ความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญอาเซียน ๒๕๔๗ (๑๑ สาขา) ; ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การเดินอากาศ ยานยนต์ การประมง ฯลฯ ความตกลงจัดตั้งและดำเนินการด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวอาเซียน ความตกลงการค้าสินค้าอาเซียน ๒๕๕๒ (ATIGA) หลักเกณฑ์ว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) มาตรการกระชับการรวมกลุ่มอาเซียนโดยให้สิทธิพิเศษด้านอากรศุลกากร ฯลฯ /

๑.๑.๒. / ๓ (๒.๒) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ การค้าบริการ ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการอาเซียน ๒๕๓๘ (AFAS) ความตกลงว่าด้วยการรับรองคุณสมบัติวิชาชีพระหว่างกัน (MRA) ๗ สาขา แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก บริการวิศวกรรม นักบัญชี ช่างสำรวจ /

๑.๑.๒. / ๓ (๓) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒.๒) การลงทุน ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (IGA) ความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนเสรีอาเซียน (AIA) ความตกลงว่าด้วยการลงทุนเต็มรูปแบบอาเซียน (ACIA) ความตกลงว่าด้วยการร่วมทุนด้านอุตสาหกรรมอาเซียน (AIJVs) -> ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน (AICO) /

๑.๑.๒. / ๓ (๔) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒.๓) แรงงาน แรงงานมีฝีมือ การเคลื่อนย้ายโดยเสรี โดยมี MRA รองรับ (๗ สาขา) เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) แรงงานไร้ฝีมือ ประชาคมอาเซียน ยังไม่มีการกล่าวถึง ปัญหา การเข้าเมือง การพำนักอาศัย ? การเข้าสู่ทะเบียนราษฎรใน AMS ? การมีสิทธิในสัญชาติของคนรุ่นต่อ ๆ ไป ? /

๑.๑.๒. / ๓ (๕) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒.๔) ทุน การเคลื่อนย้ายทุนเสรีมากขึ้น การพัฒนาและรวมกลุ่มตลาดทุนอาเซียน การรับรองคุณสมบัติวิชาชีพด้านตลาดทุน สนธิสัญญา ? /

๑.๑.๒. / ๓ (๖) นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๒.๕) อื่น ๆ ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านพลังงาน ความตกลงว่าด้วยความมั่นคงด้านปิโตรเลียม ความตกลงว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาอาเซียน ฯลฯ /

๑.๑.๒. / ๔ นิติสัมพันธ์ฯ ระหว่าง AMS ด้านต่าง ๆ ๓) นิติสัมพันธ์ด้านสังคมและวัฒนธรรม ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพอาเซียน ความตกลงว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติและการดำเนินการในภาวะฉุกเฉิน พิธีสารเพื่อการรวมสาขาการดูแลสุขภาพอาเซียน ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดการกระทำรุนแรงต่อสตรีในภูมิภาคอาเซียน ความตกลงว่าด้วยมลภาวะข้ามพรมแดน ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยความยั่งยืนของสภาพแวดล้อม ฯลฯ /

๑.๑.๓. นิติสัมพันธ์ฯ ในระดับอนุภูมิภาค ๑.๑.๓. นิติสัมพันธ์ฯ ในระดับอนุภูมิภาค ๑) ความร่วมมือในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ๒) แผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย (IMT - GT) ๓) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง (ACMACs) ๔) เขตพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคมลายู (BIMP - EAGA) /

๑.๑.๔. นิติสัมพันธ์ฯ ASEAN – IO / Non - AMS ความตกหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ ๖ ประเทศ (ASEAN + 3 + AUS, NZ, and IN) ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน – จีน ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน – ญี่ปุ่น ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน – อินเดีย ความตกลงเพื่อจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน – ออสเตรเลีย – นิวซีแลนด์ อื่น ๆ ; การเจรจาระหว่างอาเซียนกับความร่วมมืออาหรับ (ASEAN – the Gulf Cooperation Council: GCC) ประกอบด้วย ประเทศบาห์เรน กาตาร์ คูเวต โอมาน ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ///

๑.๒. / ๑ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน ๑.๒. / ๑ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน บางเรื่องเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ๑) ความตกลงทวิภาคีว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ไทย – อินโดนีเซีย ไทย – ฟิลิปปินส์ ไทย – กัมพูชา ไทย – ลาว ๒) ความตกลงทวิภาคีทางการค้า

๑.๒. / ๒ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน ๑.๒. / ๒ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน ๓) ความตกลงทวิภาคีว่าด้วยการลงทุน ไทย – ลาว ไทย – เวียดนาม ไทย – กัมพูชา ไทย – ฟิลิปปินส์ ไทย – อินโดนีเซีย ๔) ความตกลงทวิภาคีว่าด้วยการขจัดภาษีซ้อน ไทย – มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย และ สหภาพพม่า ไทย – บรูไน ยังไม่มีผลบังคับใช้ /

๑.๒. / ๓ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน ๑.๒. / ๓ นิติสัมพันธ์ฯ นอกกรอบอาเซียน ๕) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจ้างแรงงานไร้ฝีมือ บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวว่าด้วยความร่วมมือด้านการจ้างแรงงาน ณ นครเวียงจันทน์ (๑๘.๑๐.๒๕๔๕) บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยความร่วมมือด้านการจ้างแรงงาน ณ จังหวัดอุบลราชธานี (๓๑.๐๕.๒๕๔๖) บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสหภาพพม่าว่าด้วยความร่วมมือด้านการจ้างแรงงาน ณ จังหวัด (๒๑.๐๖.๒๕๔๖) ///

รัฐธรรมนูญ - กระบวนการทำสนธิสัญญา กระบวนการตามกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ กระบวนการตามกฎหมายภายใน รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ประเภทที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนที่ฝ่ายบริหารจะแสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสัญญา ม. ๑๙๐ ว. ๒ ประเภทที่ไม่ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนที่ฝ่ายบริหารจะแสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสัญญา ม. ๑๙๐ ว. ๑

๒. ผลกระทบต่อกฎหมายไทย กระทบต่อกฎหมายไทยอย่างไร ? ๒. ผลกระทบต่อกฎหมายไทย กระทบต่อกฎหมายไทยอย่างไร ? เมื่อประเทศไทยผูกพันตามสนธิสัญญาต่าง ๆ ย่อมมีหน้าที่ปฏิบัติตามพันธกรณีที่ได้เจรจาตกลงระหว่างกัน หากไม่ปฏิบัติตามเกิดความรับผิดของรัฐ พันธกรณีต้องได้รับการปฏิบัติหรือสามารถบังคับใช้ภายในประเทศ เนื่องจากสนธิสัญญาไม่มีผลบังคับใช้ได้โดยตรงภายในประเทศไทย ต้องมีการแปลงรูป (transform) หรือปรับให้เป็นกฎหมายภายใน หรือ มีกฎหมายภายในรองรับสนธิสัญญาก่อนจึงจะสามารถบังคับได้

๒. ผลกระทบต่อกฎหมายไทย ผลกระทบ ๒ ลักษณะ ๒. ผลกระทบต่อกฎหมายไทย ผลกระทบ ๒ ลักษณะ ๒.๑. ผลกระทบต่อการตรากฎหมายรองรับพันธกรณีตามสนธิสัญญา ๒.๒. ผลกระทบต่อการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑

๒.๑. ผลกระทบต่อกฎหมายที่รองรับฯ ๒.๑. ผลกระทบต่อกฎหมายที่รองรับฯ ๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับสนธิสัญญา ๒.๑.๒. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายภายในที่รองรับสนธิสัญญาฯ ๒.๑.๓. การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภายในที่รองรับสนธิสัญญาฯ

๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ ๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ กรณีที่ยังไม่มีกฎหมายภายในรองรับสนธิสัญญา จึงต้องตรากฎหมายภายในรองรับให้มีผลบังคับใช้ภายในประเทศ ; ลักษณะการตรากฎหมาย ๑) การตรากฎหมายฉบับใหม่ฯ โดยนำสาระสำคัญของสนธิสัญญาบัญญัติเป็นกฎหมายภายใน ๒) การตรากฎหมายฉบับใหม่ฯ โดยการแปลสนธิสัญญาแนบท้ายพระราชบัญญัติ

๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ ๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ ๑) การตรากฎหมายฉบับใหม่ฯ โดยนำสาระสำคัญของสนธิสัญญาบัญญัติเป็นกฎหมายภายใน พรบ. คุ้มครองการดำเนินงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๒๕๕๑ พรบ. ส่งผู้ร้ายข้ามแดน ๒๕๕๑ ประกาศการมีผลบังคับใช้ของความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ เพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน ไทย – ลาว เวียดนาม กัมพูชา ฟิลิปปินส์ /

๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ ๒.๑.๑. การตรากฎหมายฉบับใหม่รองรับฯ ๒) การตรากฎหมายฉบับใหม่ฯ โดยการแปลสนธิสัญญาแนบท้ายพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ๒๕๒๒ – กำหนดให้การส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างราชอาณาจักรไทยกับ ... เป็นไปตามการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ท้ายพระราชบัญญัตินี้ พรบ. ส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างราชราชอาณาจักรไทยกับ ... ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว /

๒.๑.๒ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายภายใน ๒.๑.๒ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายภายใน กรณีที่มีกฎหมายภายในรองรับอยู่แล้วแต่ต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับพันธกรณีตามสนธิสัญญา ; พรบ.การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ๒๕๔๒ เรื่องสัดส่วนผู้ถือหุ้นของคนต่างด้าวในกิจการ ร้อยละ ๕๑ / ๔๙ ซึ่งภายใต้ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ AEC กำหนดให้สัดส่วนของคนชาติประเทศสมาชิกสามารถถือหุ้นได้เกินร้อยละ ๔๙ บางกิจการสามารถถือหุ้นได้ถึง ร้อยละ ๗๐ (logistics) พรบ.การทำงานของคนต่างด้าว ๒๕๕๑ ที่ห้ามคนต่างชาติประกอบอาชีพบางอาชีพ /

๒.๑.๒ การเพิ่มเติมกฎหมายภายใน ๒.๑.๒ การเพิ่มเติมกฎหมายภายใน กรณีมีกฎหมายภายในรองรับสนธิสัญญาแล้ว แต่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมให้เป็นไปตามพันธกรณีของสนธิสัญญา ; ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการยกเว้นอากรและการลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (อต. ๒๐) รองรับความตกลงว่าด้วยการมาตรการการกำหนดอัตราอากรร่วม (CEPT) เพื่อการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการยกเว้นอากรและการลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับประเทศสมาชิกใหม่ (สห. ๑) รองรับมาตรการกระชับการรวมกลุ่มอาเซียน โดยให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (ASEAN Integration System of Preferences: AISP) แก่ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน

๒.๑.๒ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภายใน ๒.๑.๒ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภายใน ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการลดอัตราอากรศุลกากร (รทอ. ๘) เพื่อรองรับความตกลงพื้นฐานว่าด้วยโครงการร่วมทุนทางอุตสาหกรรมของอาเซียนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน (AIJV) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี เพื่อรองรับความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่าง ๆ ระหว่างรัฐบาลกลุ่มประเทศสมาชิก ASEAN และ สาธารณรัฐเกาหลี ฯลฯ /

๒.๒. ผลกระทบต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ๒.๒. ผลกระทบต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ใน Blueprint กำหนดให้แผนงานและการดำเนินงานต่าง ๆ ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เป็นแผนพัฒนาแห่งชาติ (National Development Plan) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ได้รองรับเรื่องการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย และ การพัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อความร่วมมือในการเป็นประชาคมอาเซียน /

ประเด็นอื่น ๆ การรับรองและคุ้มครองสิทธิของคนชาติของประเทศสมาชิกอื่น ๆ ในประเทศไทย การวางระบบกฎหมายภายในในการจัดการพลเมืองของอาเซียน การพิจารณาคดีที่มีองค์ประกอบระหว่างประเทศ การรับรองและบังคับตามคำพิพากษาของศาลต่างประเทศสมาชิกอื่นในประเทศไทย ฯลฯ

การเตรียมความพร้อมด้านกฎหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญา จารีตประเพณีระหว่างประเทศ หลักกฎหมายทั่วไประหว่างประเทศ กฎหมายภายใน ประเทศไทย ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ (กฎหมายต่างประเทศ)

การเตรียมความพร้อมของผู้ใช้กฎหมาย ฝ่ายบริหาร - ฝ่ายปกครอง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ประชาชน