มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D) โดย นางลาวัลย์ ภูวรรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายภาษี สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
2. มาตรการส่งเสริมการลงทุน (BOI) 3. มาตรการด้านเงินทุน OUTLINE 1. มาตรการภาษี 2. มาตรการส่งเสริมการลงทุน (BOI) 3. มาตรการด้านเงินทุน 2 Ministry of Finance 2
1.มาตรการภาษีเพื่อการส่งเสริม R&D 1.1 หักค่าเสื่อมในอัตราเร่ง สำหรับเครื่องจักรและ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ R&D 1.2 หักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า สำหรับการจ้างทำ R&D 3 Ministry of Finance 3
1.1 การหักค่าเสื่อมราคาในอัตราเร่ง 1.1 การหักค่าเสื่อมราคาในอัตราเร่ง ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์สำหรับ R&D สามารถหักค่าเสื่อมได้ร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้หักตามระยะเวลาที่ได้ทรัพย์สินมา ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ตามเงื่อนไขและอัตรา ที่กำหนดใน พรฎ. 4 Ministry of Finance 4
1.2 การหักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า 1.2 การหักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า เงินได้ของบริษัท และห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่าของรายจ่าย ที่เป็นค่าจ้างเพื่อทำ R&D ให้แก่ หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชนตามที่กำหนด 5 Ministry of Finance 5
เงื่อนไขของโครงการที่ขอรับสิทธิ มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. การวิจัยอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน หรือ 2. การวิจัยเชิงประยุกต์ ได้รับการรับรองโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีจากสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการรับรองโครงการวิจัยและพัฒนา สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ผู้รับทำวิจัยต้องอยู่ในรายชื่อตามประกาศกระทรวงการคลัง 6 Ministry of Finance
2. มาตรการส่งเสริมการลงทุน (BOI) มีมาตรการเพื่อสนับสนุน R&D ดังนี้ 2.1 การพัฒนาทักษะ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Skill,Technology & Innovation: STI) 2.2 การส่งเสริมการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาโดยสร้าง ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา 7 Ministry of Finance
3. มาตรการด้านเงินทุน 3.1 สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ 3.2 Venture Capital (VC) 3.1 สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ 3.2 Venture Capital (VC) 8 Ministry of Finance
3.1 สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ สนับสนุนผ่านกลไกสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Bank) ร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) ปล่อยสินเชื่อเงินกู้ให้กับโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก สนช. โดย สนช. จะเป็นผู้ชำระดอกเบี้ยเงินกู้แทนผู้ได้รับการสนับสนุนในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปีแรก สูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาทต่อโครงการ 9 Ministry of Finance
3.2 Venture capital (ธุรกิจเงินร่วมลงทุน) กองทุนร่วมลงทุนภาครัฐ กองทุนร่วมลงทุนเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขันของธุรกิจไทย (Venture Capital) วงเงิน 5,000 ล้านบาท ผ่านสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ธุรกิจเงินร่วมลงทุนเอกชน การลงทุนในกิจการที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และเพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในตลาดทุนโดยผ่านการบริหารจัดการลงทุนของธุรกิจจัดการร่วมลงทุน 10 Ministry of Finance
สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของVC ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่ VC สำหรับเงินปันผล และ Capital Gain ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่ผู้ลงทุนใน VC สำหรับเงินปันผล และ Capital Gain 11 Ministry of Finance
หลักเกณฑ์ ทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท กองทุนต้องมีอายุ 7 ปี โดยต้องถือหุ้นใน SMEs ไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือหากสามารถนำ SMEs ที่ลงทุนเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ ลดระยะเวลาเป็นไม่น้อยกว่า 3 ปี ต้องลงทุนตามสัดส่วนที่กำหนด นิติบุคคลที่จะตั้งกองทุน สามารถขึ้นทะเบียนต่อสำนักงานคณะกรรมการ กลต. ภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 12 Ministry of Finance
ขอบคุณค่ะ