บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
Advertisements

ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การวิจัย RESEARCH.
การเขียนผังงาน.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
Object-Oriented Analysis and Design
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
การวางแผนและการดำเนินงาน
Surachai Wachirahatthapong
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
Systems Analysis and Design
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การเขียนรายงานการวิจัย
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
System Analysis and Design
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวิเคราะห์เนื้อหา.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การพัฒนาระบบประยุกต์
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
แบบจำลองกระบวนการ (Process Modeling)
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis การวิเคราะห์โครงสร้าง คือการวิเคราะห์ระบบเดิมที่ทำด้วยมือ หรือ ระบบอัตโนมัติ เพื่อนำไปสู่การกำหนดรูปแบบของระบบใหม่ โดยการ ปรับปรุง หรือ ขยายขอบเขตการทำงานของระบบเดิม วัตถุประสงค์ คือ การจัดระบบให้สอดคล้องกับสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการ และ ถูกต้องกับสถานะการณ์ปัจจุบัน การวิเคราะห์ทำให้นักวิเคราะห์ทราบการจัดการ และ ขบวนการทำงานในระบบเดิม และ ช่วยมิให้มองข้ามรายละเอียดที่สำคัญ

การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis โครงสร้าง: ในแง่ของการวิเคราะห์โครงสร้างหมายถึง วิธีกำหนดโครงร่าง ความต้องการของขบวนการ เริ่มจากข้อมูลในระบบเดิม ศึกษารายละเอียดของขบวนการในระบบเดิม ตรวจสอบราบละเอียดที่ขาดหายไป เปิดโอกาสให้นักวิเคราะห์ปรึกษาถึงกลวิธีที่จะพัฒนาระบบ กำหนดการจัดทำเอกสาร ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบของ การวิเคราะห์โครงสร้าง ส่วนประกอบของการวิเคราะห์โครงสร้าง สัญลักษณ์ (Symbols) รูปที่แสดงส่วนประกอบของระบบ และ ความสัมพันธ์ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) บรรยายลักษณะข้อมูลที่ใช้ในระบบ เช่น ชื่อ ประเภท ขนาน รูป ช่วงค่า และ การใช้ข้อมูล ขบวนการ (Process / Procedure) ประโยคที่มีรูปแบบทางเทคนิคผสมกับภาษา ที่นักวิเคราะห์ใช้ศึกษาถึงกิจกรรมต่างๆในระบบ กฎ (Rule) มาตรฐานการจัดทำเอกสาร หรือ ระบบการบรรยายขั้นตอน

เครื่องมือ วิเคราะห์การไหลข้อมูล การไหลข้อมูล (Data Flow) คือ การศึกษาว่าระบบประกอบขึ้นจากกิจกรรมใด แต่ละกิจกรรมต้องใช้ข้อมูลเข้า และ ข้อมูลออก อะไรบ้าง โดยทำการวิเคราะห์การไหลข้อมูล การวิเคราะห์การไหลข้อมูล คือ การศึกษาการใช้ข้อมูลในแต่ละกิจกรรม โดยการบันทึกเป็นผังภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม และ ข้อมูลเข้า/ออก รวมทั้งพจนานุกรมข้อมูลประกอบระบบ

เครื่องมือ วิเคราะห์การไหลข้อมูล ผังภาพการไหลข้อมูล (Data Flow Diagram) สัญลักษณ์ใช้แสดงการเคลื่อนไหวของข้อมูลในระบบทำด้วยมือ หรือ อัตโนมัติ มี 2 ประเภท คือ ผังภาพการไหลข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Data Flow) ผังภาพการไหลข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Data Flow) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ข้อมูลเชิงตรรกะลักษณะการเก็บข้อมูล รวมทั้ง ชื่อ รายละเอียด ประเภท การจัดองค์กรข้อมูล วิธีการเข้าถึง และ การกำหนดฐานข้อมูล

เครื่องมือ วิเคราะห์การไหลข้อมูล ผังภาพโครงสร้างข้อมูล (Data Structure Diagram) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มข้อมูล แสดงในเชิงตรรกะไม่เกี่ยวกับกายภาพ ผังภาพโครงสร้าง (Structure Chart) แสดงความสัมพันธ์แต่ระโมดูล โดยเขียนในรูป ผังภาพลำดับชั้น (Hierarchy) แสดงการผ่านข้อมูลระหว่างโมดูล และ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลเข้ากลายเป็นข้อมูลออก

ภาพแสดงความสัมพันธ์ของ ส่วนต่างๆในการวิเคราะห์โครงสร้าง ภาพแสดงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สัญลักษณ์ที่ ใช้ในการไหลข้อมูล ความหมาย Data Flow เส้นการไหลข้อมูล Process บุคคล ขบวนการ อุปกรณ์ ที่ใช้ผลิต หรือ เปลี่ยนแปลงข้อมูล Data Store แหล่งเก็บข้อมุล ตู้เอกสาร หรือ สื่อบันทึก Source / Sink of data (Destination) ต้น หรือ ปลายทางของข้อมูล อาจเป็นบุคคล หรือ ขบวนการ หรือ หรือ

สัญลักษณ์ที่ ใช้ในการไหลข้อมูล สาเหตุที่มีสัญลักษณ์ต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกัน เพราะ มีการพัฒนาขึ้นพร้อมกัน 2 แห่ง คือ Yourdon และ Gane&Sason

สัญลักษณ์ที่ ใช้ในการไหลข้อมูล Yourdon Source Source Data flow 1 Process 1 Data flow 2 Data flow 5 Data flow 3 Process 2 Data flow 4 Data Store

สัญลักษณ์ที่ ใช้ในการไหลข้อมูล Gane&Sarson Process 1 Source Source Data flow 1 Data flow 2 Data flow 5 Data flow 3 Process 2 Data flow 4 Data Store

ประโยชน์ของ การวิเคราะห์การไหลข้อมูล ประโยชน์ของการวิเคราะห์การไหลข้อมูล ทำให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ใช้ระบบ โปรแกรมเมอร์ บุคคลในองค์กร เข้าใจการทำงานของระบบได้ง่ายขึ้น ทำให้ง่ายต่อการสัมภาษณ์ผู้ใช้ระบบ เพราะงานถูกแบ่งเป็นส่วนย่อย จึงสามารถเจาะลึกการทำงานของแต่ละส่วนได้มากขึ้น