การออกแบบการวิจัย(Research Design) บทที่ 4 การออกแบบการวิจัย(Research Design)
ขอบเขตเนื้อหา ความหมาย จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย การควบคุมความแปรปรวนตามหลัก MAX MIN CON เกณฑ์ที่ใช้สำหรับออกแบบการวิจัย สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบการวิจัย ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
4.1 ความหมาย การกำหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางในการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบตามปัญหาวิจัยที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือได้คำตอบที่มีทั้งความตรงภายใน (internal validity)และความตรงภายนอก (External validity) โดยประหยัดทรัพยากร
4.2 องค์ประกอบการออกแบบการวิจัย กำหนดรูปแบบการวิจัย (model) กำหนดขอบเขตการวิจัย กำหนดแนวทางการวิจัย
กำหนดรูปแบบการวิจัย (model) การวิจัยแบบที่ไม่ใช่การทดลอง การวิจัยแบบทดลอง
กำหนดขอบเขตการวิจัย (delimitation) ขนาดของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กรอบแนวคิดในการวิจัย ประเภทและจำนวนตัวแปร ช่วงระยะเวลาที่ศึกษา
กำหนดแนวทางการวิจัย (procedures) ประชากร ขนาดและวิธีการสุ่มตัวอย่าง ตัวแปร ความหมายและแนวทางการวัด การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
4.4 เป้าหมายในการออกแบบการวิจัย 4.4 เป้าหมายในการออกแบบการวิจัย ได้แนวทางการวิจัยที่จะได้คำตอบตรงกับประเด็นปัญหาที่ต้องการวิจัย ทำให้ได้ผลงานวิจัยที่มีทั้งความตรงภายในและความตรงภายนอก การออกแบบการวิจัย ตัองมุ่งใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
ความตรงภายใน (internal validity) การที่ผลของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเป็นผลมาจาก ตัวแปรอิสระที่ศึกษาเท่านั้น
การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) การออกแบบการวิจัยให้มีความตรงภายในสูง ขึ้นอยู่กับ การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) วัดค่าตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน การออกแบบการใช้สถิติ เลือกใช้สถิติเชิงบรรยายที่เหมาะสมกับสเกล การวัดและวัตถุประสงค์การวิจัย การวิเคราะห์และบรรยายข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่ ถูกต้อง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตรงภายใน ภูมิหลัง วุฒิภาวะ การทดสอบ เครื่องมือวัด การถดถอยทางสถิติ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การขาดหายของกลุ่มตัวอย่าง
ความตรงภายนอก (external validity) การที่ผลของการวิจัยสามารถสรุปอ้างอิงกลับไปยังเนื้อหา/ สถานการณ์ที่ใกล้เคียงกัน และประชากรได้อย่างถูกต้อง
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) การออกแบบการวิจัยให้มีความตรงภายนอกสูง ขึ้นอยู่กับ การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) กำหนดรูปแบบและวิธีการสุ่ม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design) การเลือกใช้สถิติเชิงสรุปอ้างอิงที่ เหมาะสมกับข้อตกลงเบื้องต้นและ วัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิเคราะห์และแปลความหมายการ ทดสอบสมมติฐานหรือการประมาณ ค่าพารามิเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตรงภายนอก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างกับการใช้วิธีการทดลอง ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการทดสอบ ครั้งแรกกับวิธีการทดลอง ปฏิกิริยาจากการจัดสภาพการทดลอง
“งานวิจัยจะมีความตรงภายนอกได้ ต้องมีความตรงภายในก่อน จึงจะสามารถนำผลไปสรุปอ้างอิงได้”
การออกแบบการวิจัย การวางแผนเกี่ยวกับการกำหนด ตัวแปรและสร้างเครื่องมือ การวางแผนเกี่ยวกับการกำหนด ตัวแปรและสร้างเครื่องมือ การวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล
การวางแผนเกี่ยวกับตัวแปร กำหนดตัวแปรที่ต้องการเก็บข้อมูล เครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวางแผนการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลจากใคร จำนวนเท่าไร เก็บอย่างไร
การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์อย่างไรให้ตรงวัตถุประสงค์และสมมติฐานงานวิจัย ใช้สถิติอะไร แปลความหมายอย่างไร นำเสนอผลการวิเคราะห์อย่างไร
4.2 จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย 4.2 จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย เพื่อให้ได้แนวทางไปสู่คำตอบของปัญหาวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เพี่อควบคุมความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในการวิจัย (Variance control)
4.3 การควบคุมความแปรปรวน ตามหลัก MAX MIN CON ทำให้ความแปรปรวนของตัวแปรที่ศึกษามีค่าสูงสุด (to maximize the variance of variable) ลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการวัดตัวแปรให้มีค่าต่ำสุด (to minimize the error) ควบคุมความแปรปรวนที่เกิดจากตัวแปรแทรกซ้อน (to control the variance of extraneous/ unwanted variable)
4.5 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบการวิจัย สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ต้องตั้งสมมติฐานการวิจัย และระบุ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง หลังจากที่ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยอย่างละเอียดครอบคลุมแล้ว ข้อจำกัดด้านงบประมาณ เวลา และบุคลากร