ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

นำเสนอ เรื่อง x.25.
องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล.
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
ASCII รหัสแอสกี (ASCII Code) หรือ American Standard Code for Information Interchange เป็นรหัสที่ มีการใช้แพร่หลายกันมากที่สุด เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 4 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลบนโครงข่ายโทรศัพท์ ISDN
Telecom. & Data Communications
ISDN (Integrated Services Digital Network)
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Digital Data Communication Technique
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ ( )
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
Computer Coding & Number Systems
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Network
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
Introduction to Network
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ISP ในประเทศไทย
Introduction to Digital System
CC212 Internet Technology : Network Technology :
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
แบบจำลอง OSI Model.
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล (Fundamental of Data Communications)

Overview ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver) การสื่อสารข้อมูล กระบวนการสำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล สื่อสาร >> สื่อสารยังไง, วิธีการสื่อสาร ข้อมูล >> คำพูด, ข้อความ, เสียง ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver)

นิยาม การสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ คือ การถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล (Transmission) ระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีปัจจัยในการสื่อสารข้อมูล คือ : คอมพิวเตอร์ (Computer) ช่องทางการสื่อสาร (Transmission Media) โปรแกรม (Software) คน (People ware)

รูปที่ 1 การสื่อสารข้อมูล

องค์ประกอบระบบสื่อสาร 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล และ ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล อุปกรณ์รับและส่งอาจเป็นชนิดเดียวกัน มี 2 ชนิดคือ DTE (Data Terminal Equipment) คือ อุปกรณ์สำหรับส่งข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ DCE (Data Communication Equipment) คือ อุปกรณ์สำหรับทำการติดต่อ เช่น โมเด็ม จานดาวเทียม

องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 2. โปรโตคอล และ ซอฟต์แวร์ โปรโตคอล คือ วิธีการ ข้อตกลงที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกัน เช่น TCP/IP, IPx/SPx ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงานในการสื่อสารเป็นไปตามโปรแกรมที่วางไว้ เช่น Unix, Windows NT

องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 3. ข่าวสาร (Message) คือ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร มี 4 รูปแบบ เสียง การส่งจะส่งด้วยความเร็วต่ำ ข้อมูล การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง ข้อความ การส่งจะส่งด้วยความเร็วปานกลาง ภาพ การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง

องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 4. สื่อกลาง (Media) คือ เส้นทาง มี 4 รูปแบบ เสียง การส่งจะส่งด้วยความเร็วต่ำ ข้อมูล การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง ข้อความ การส่งจะส่งด้วยความเร็วปานกลาง ภาพ การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง

มาตรฐานสากล อุปกรณ์ของผู้ส่งและผู้รับจะต้องใช้ วิธีการส่ง (Transmission) การเชื่อมต่อ (Interface) การเข้ารหัส (Encoding) วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาด (Coding Error Detection ) Transmission, Interface, Encoding, Coding Error Detection International Standard ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน หรือสามารถแปลงเป็นรูปแบบเดียวกัน

มาตรฐานสากล (ต่อ) ISO > The International Standards Organization เป็นองค์กรพัฒนามาตรฐานสากลการสื่อสารข้อมูล OSI Model > Open Systems Interconnection Model CCITT > The Consultive Committee in International Telegraphy and Telephony การสื่อสารข้อมูลผ่านระบบโทรคมนาคม มาตรฐาน V ใช้สำหรับวงจรโทรศัพท์และโมเด็ม เช่น V.29, V.56, V.90 มาตรฐาน X ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะ เช่น X.25 Packet Switched

มาตรฐานสากล (ต่อ) IEEE > The Institute of Electric and Electronic Engineers มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ Microprocessor /Electronic Device IEEE 802.3 Ethernet EIA > Electronic Industries Association กำหนดมาตรฐานทางอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์

รหัสสากล การแปลงอักขระ ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ จะอยู่ในรูปแบบสัญญาณพัลส์ไฟฟ้าหรือบิต แทน รหัส (code) รหัสแอสกี รหัสแอบซีดิก ( EBCDIC )

รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์ ASCII Code > American Standard Code for Information Interchange กำหนดโดย ANSI (American National Standard Institute) ประกอบด้วยรหัส 7 บิต + 1 พาริตี้บิต/1 อักขระ ASCII > 128 ตัว อักขระที่พิมพ์ได้ 96 ตัว > ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เช่น 100 0000 : P อักขระควบคุม 32 ตัว > ใช้ในการควบคุมเครื่องพิมพ์ เช่น DEL : 111 1111

ตารางรหัสแอสกี อักษร A ประกอบด้วย 100 0001 => 4116 => 65

รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์ EBCDIC > Extended Binary Coded Decimal Interchange Code พัฒนาโดย IBM มีขนาด 256 ตัว 8 บิต/อักขระ

โครงข่ายการสื่อสารแบบต่างๆ เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (Public Switched Telephone Network : PSTN) เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) สายคู่เช่า (Leased Lines) โครงข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลสาธารณะ (Public Switched Data Network : PSDN) Integrated Services Digital Network (ISDN)

เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ : Public Switched Telephone Network (PSTN) การรับ-ส่งข่าวสารข้อมูลจะผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ องค์ประกอบของ PSTN คือ Station อุปกรณ์ต้นทางและปลายทาง Modem อุปกรณ์แปลงสัญญาณ A/D และ D/A Node ชุมสายโทรศัพท์ท้องถิ่น เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (PSTN)

เครือข่ายท้องถิ่น: Local Area Networks (LAN) ลักษณะของทั่วไปคือ ออกแบบพื้นที่ในการจัดวางได้ การจัดการแบบรวมศูนย์ อัตราการรับส่งข้อมูลสูง

สายคู่เช่า : Leased Line เป็นระบบส่งสัญญาณแบบวงจรสวิตช์ (Circuit switching) ลักษณะ คือ ออกแบบมาเพื่อส่งสัญญาณดิจิตอลแทนอนาล็อก จำนวนอุปกรณ์สื่อสารดิจิตอลมากขึ้น ทนทานและยืดหยุ่น

โครงข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลสาธารณะ : Public Switched Data Network (PSDN) ลักษณะ คือ ออกแบบมาเน้นเพื่อส่งข้อมูลดิจิตอล แชร์ข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายแบบนี้ ได้แก่ X.25 , Frame Relay, ATM

Integrated Services Digital Network (ISDN) เพื่อพัฒนาเครือข่ายดิจิตอลออกไปให้กว้างไกลทั่วโลก การเชื่อมต่อทุกขั้นตอนจากผู้ใช้บริการไปยังชุมสายผู้ให้บริการ สายสัญญาณที่เชื่อมต่อระหว่างชุมสาย และจากตู้ชุมสายไปถึงผู้รับใช้สัญญาณแบบดิจิตอลทั้งหมด