นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจัดระบบในร่างกาย.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
โรคเบาหวาน Diabetes.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
เครื่องสำอาง เครื่องสำอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์สิ่งปรุงเพื่อใช้บนผิวหนัง หรือ ส่วนใดส่วนหึ่งของร่างกาย โดยใช้ทา ถู นวด พ่น หรือโรย มี จุดประสงค์เพื่อทำความสะอาด.
Major General Environmental Problems
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์ 700 207 Immunology วิทยาภูมิคุ้มกัน อ.พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์

ระบบภูมิคุ้มกัน คำว่า Immune มาจากภาษาลาติน ซึ่งแปลว่า ปลอดจากภาษีหรือปลอดจากภาระ สมัยก่อนได้ถูกนำไปใช้ โดยหมายความถึงความต้านทานในตัวบุคคลที่จะไม่เป็นโรคซ้ำจากเชื้อโรคตัวเดิม

แต่ความหมายที่ถูกต้องในปัจจุบัน หมายถึง กลไกตามธรรมชาติที่ทำให้ร่างกายสามารถจำสิ่งแปลกปลอมได้และพยายามกำจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งมีผลทำให้เกิดหรือไม่เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อตนเอง

ส่วนประกอบของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย 1. อวัยวะ ที่ทำหน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ไขกระดูก ธัยมัส ตับ ม้าม และต่อมน้ำเหลือง 2. เซลล์ ที่ทำหน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดขาวทุกชนิด ซึ่งได้แก่ ลิมโฟซัยท์ โมโนซัยท์/มาโครฟาจ นิวโทรฟิล อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล และมาสท์เซลล์

3. สารน้ำของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่โดยตรงต่อเซลล์เป้าหมาย ได้แก่ แอนติบอดี้ (อิมมูโนโกลบูลิน) และคอมพลีเมนต์ ส่วนสารน้ำโมโนไคน์ซึ่งหลั่งจากโมโนซัยท์/มาโครฟาจ ( เช่น IL-1 ฯลฯ )

และสารน้ำลิมโฟไคน์ซึ่งหลั่งจากลิมโฟซัยท์ ( เช่น IL-2 , IL-3 ฯลฯ ) ไม่ได้ทำหน้าที่โดยตรงต่อเซลล์เป้าหมาย แต่มีบทบาทสำคัญในการช่วยส่งเสริมการทำงานของเซลล์ต่างๆของระบบภูมิคุ้มกัน

หน้าที่โดยสังเขปของระบบภูมิคุ้มกัน  หน้าที่โดยสังเขปของระบบภูมิคุ้มกัน แบ่งออกได้เป็น 3 อย่างคือ 1. Defense เพื่อป้องกันร่างกายและเพิ่มความต้านทานของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมภายนอก กลไกนี้อาจก่อให้เกิดผลร้ายต่อร่างกายได้ เช่น เกิดภาวะภูมิไวเกิน ( Hypersensitivity ) และหากเกิดความบกพร่องของกลไกนี้จะทำให้ความต้านทานของร่างกายลดลง

2. Homeostasis เพื่อกำจัดเซลล์ปกติของร่างกายที่ใช้งานไม่ได้แล้ว เช่น คอยทำลายเซลล์เนื้อเยื่อ เซลล์เม็ดเลือดที่อายุมาก ความผิดปกติของกลไกนี้จะทำให้เกิดโรคออโตอิมมูน

3. Surveillance เพื่อคอยจับตาดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่างๆในร่างกาย และคอยกำจัดเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงผิดไปจากปกติ เช่น ทำลายเซลล์เนื้องอก ถ้ามีความบกพร่องของกลไกนี้ จะทำให้เกิดโรคมะเร็ง