ระบบการเรียนการสอน หมายถึง การกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน หรือภารกิจตามองค์ประกอบของการดำเนินงานโดยการรวบรวมข้อมูล ทรัพยากร วิเคราะห์ปัญหา และรวบรวมวิธีแก้ปัญหา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
หน่วยที่ 4.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
 การสอนแบบอภิปราย.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
เพื่อรับการประเมินภายนอก
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
สื่อการเรียนการสอน.
“Backward” Unit Design?
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
รูปแบบการสอน.
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การสร้างสื่อ e-Learning
นโยบาย ยกระดับคุณภาพ การศึกษา. ๑. ระบบการ สอบ ๑. ๑ เนื้อหาสาระที่ใช้ออก ข้อสอบ ๑. ๒ รูปแบบของข้อสอบ ๑. ๓ การเตรียมพร้อมให้ นักเรียนคุ้นเคย กับวิธีการตอบ.
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คือกระบวนการที่ผู้สอนมุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาสสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือระดมความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่อง หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการเรียนการสอน หมายถึง การกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน หรือภารกิจตามองค์ประกอบของการดำเนินงานโดยการรวบรวมข้อมูล ทรัพยากร วิเคราะห์ปัญหา และรวบรวมวิธีแก้ปัญหา ประเมินผลลัพธ์ที่ได้รับ เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

ระบบการเรียนการสอน :สู่การนำไปใช้ ระบบการเรียนการสอน :สู่การนำไปใช้ ข้อมูลย้อนกลับ วิเคราะห์การจัด การเรียนการสอน จัดกิจกรรม การเรียนการสอน กำหนดจุดประสงค์ การประเมินผล ข้อมูลย้อนกลับ

โมเดลการออกแบบการสอน (Instructional Design Model)

An Instructional Design Model for Web Authors

Instructional Strategies

สื่อและรูปแบบการสอน ยึดผู้สอน ยึดผู้เรียน ยึดเนื้อหา ยึดผู้สอน ยึดผู้เรียน ยึดเนื้อหา เป็นศูนย์กลาง เป็นศูนย์กลาง เป็นศูนย์กลาง ลื่อหลัก ครู/อาจารย์ -สื่อสิ่งพิมพ์/วิทยุ -ครู/อาจารย์ และทีวี/CAI สื่อประเภทต่างๆ สื่อเสริม กระดานดำ -ครู/อาจารย์ -วิธีการต่างๆ แบบเรียน -สื่อโสตทัศน์ สื่อโสตทัศน์ -CAI วิธีการสอนที่เหมาะสม

วิธีการสอน วิธีการสอนแบบอิงเนื้อหา วิธีการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิธีการสอนแบบอิงเนื้อหา วิธีการสอนแบบอิงประสบการณ์ (Content-Base Approach-CBA) (Experience-Base Approach-EBA) -สอนเนื้อหาตามที่กำหนด -กำหนดประสบการณ์ที่ต้องเผชิญ ในหลักสูตรและวิชาต่างๆ -กำหนดความรู้/เนื้อหาที่ต้องใช้ -แหล่งความรู้จากผู้สอน/ตำรา ในการเผชิญ ผจญ และเผด็จ แบบเรียน หรือสื่อต่างๆ --ผู้เรียนก้าวหน้าไม่พร้อม กัน -ผู้เรียนก้าวหน้าไปพร้อมๆ กัน -ไม่ถือความแตกต่างระหว่างบุคคล -แหล่งความรู้หลากหลายไร้พรมแดน TDL PDL SDL เรียนจากผู้สอน เรียนกับเพื่อน เรียนด้วยตนเอง (Teacher Directed (Peer Directed (Self-Directed Learning) Learning) Learning)

การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ทางจิตใจ ทางสังคม (ห้องเรียน/บ้าน) (ความสบายใจ) (ความสัมพันธ์) -อุณหภูมิ -ความเห็นอกเห็นใจ -ความสัมพันธ์ -แสงสว่าง -ความเข้าใจ/จริงใจ -ปฏิสัมพันธ์ -ความเงียบ -ความใจกว้าง -ความเห็นต่างๆ -ระยะทาง -ความไม่จุกจิก

บทเรียนแบบโปรแกรม ...บทเรียนแบบโปรแกรม/บทเรียนสำเร็จรูป (Programmed Lesson)เป็นบทเรียนที่มีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าที่จะให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เนื้อหาสาระไปทีละน้อย โดยเสนอในรูปของกรอบ (Frames) ให้ผู้เรียนทำกิจกรรม (Assignments/Activities) และมีคำตอบ/เฉลย (Feedback) และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทราบ ความก้าวหน้าใน การเรียน จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จำแนกเป็น ๓ แบบ -แบบเส้นตรง (Linear Programming) -แบบแตกกิ่ง (Branching Programming) -แบบอิงตำรา (Text Style Programing)

ประเภทแบบเรียนแบบโปรแกรม ๑. แบบเส้นตรง

ประเภทแบบเรียนแบบโปรแกรม ๒. แบบแตกกิ่ง ก1 2 3 n

องค์ประกอบของโมดูล Feedback Posttest Pretest Advance Organizer Body of Content MODULE Assignments/ Concurrent Organizer Activities Post Organizer Feedback Posttest IDL- Instructor-Directed Learning PDL- Peer-Directed Learning SDL- Self-Directed Learning