การจับกุมน้ำมันปลอมปน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
ว่าด้วยการปิด และขีดฆ่าแสตมป์สุราต่างประเทศ
สัดส่วนการใช้น้ำมันสำเร็จรูป ปี 2557 (ม.ค.-มี.ค.)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
นโยบายการคลัง.
อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของเจ้าพนักงานสรรพสามิต
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
สินค้าเครื่องดื่ม เดิม ใหม่
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
THE OIL BUSINESS PROCESS
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
การดำเนินคดีสุราขาวปลอม
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ค่าการตลาดน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว หน่วย : บาท / ลิตร มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ การฝึกอบรมเรื่องก๊าซปิโตรเลียมเหลว การระวังและการป้องกันอันตรายของบุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันแก๊ส โซฮอล์ พ. ศ. ๒๕๕๗ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วยหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2552
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 ธันวาคม 2556.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันแก๊สโซฮอล์ พ.ศ.2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน 2553.
กฎกระทรวง ควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2 พ. ศ
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดวิธีการและเงื่อนไขในการขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ฉบับที่ 2) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 1 กุมภาพันธ์ 2556.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการคำนวณปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงคงเหลือสุทธิ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2 พฤศจิกายน 2554.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้โรงงานกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดแบบและรายการข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ที่ซื้อหรือได้มา ที่ใช้ไป ที่จำหน่าย และคงเหลือในแต่ละเดือน.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันดีเซล (ฉบับที่ 5) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 เมษายน 2554.
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2551
1 โดย อธพ. รธพ. และ ผอ. สบส. วันที่ 22 กรกฎาคม 2551 เวลา 9:00 น. ณ ห้องแกรนด์ฮอล์ 1 โรงแรมรามาการ์เด้น ภารกิจของกรมธุรกิจพลังงาน ในการประสานและดำเนินการ.
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของ น้ำมันดีเซล พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กรกฎาคม.
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของ น้ำมันดีเซล พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 มกราคม.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและ คุณภาพของน้ำมันเบนซิน พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 มิถุนายน พ. ศ.2552.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซินพื้นฐาน พ.ศ.2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน 2553.
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมันที่นำไปใช้เป็นวัตถุดิบ หรือส่วนประกอบในการผลิตในโรงอุตสาหกรรมน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน(ฉบับที่
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันดีเซล (ฉบับที่ 2) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม 2553.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง ให้ผู้ค้า น้ำมันงดจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 14 ตุลาคม 2552.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจับกุมน้ำมันปลอมปน สิ่งที่ควรรู้ พรบ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

พรบ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 เหตุผลที่ออก พรบ. เพื่อควบคุมคุณภาพน้ำมัน เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงของประเทศ เพื่อป้องกันและแก้ไขการขาดแคลนน้ำมัน มาตราที่ควรรู้ ม.4 น้ำมันเชื้อเพลิง หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ำมันเบนซิน น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องบิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันหล่อลื่นและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นที่ใช้หรืออาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือสิ่งหล่อลื่น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ หรือสิ่งอื่นที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการกลั่นหรือผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวข้างต้น ม.7 (ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่) ม.10 (ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย) ม.11 (สถานีบริการน้ำมัน) มาตราที่เกี่ยวข้องกับการกำหนด และควบคุมคุณภาพน้ำมัน ม.25 อธิบดีมีอำนาจกำหนดลักษณะ และคุณภาพของน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อใช้บังคับทั่วราชอาณาจักร ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นจะกำหนดให้ใช้บังคับเฉพาะแต่ท้องที่หนึ่งท้องที่ใดหรือหลายท้องที่ได้ตามที่เห็นสมควร (ม.25 ว.3) ห้ามมิให้ผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายหรือมีไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกต่างจากที่อธิบดีประกาศกำหนด ม.24 ม.48 ม.49 ม.51 ม.60

บัญชีแนบท้าย กำหนดคุณภาพ น้ำมันดีเซล น้ำมันเบนซิล น้ำมันแก๊สโซฮอล น้ำมันปลอมปน น้ำมันที่ออกมาจากโรงกลั่นหรือคลังน้ำมัน จะเป็นน้ำมันที่ชำระภาษีสรรพสามิตแล้ว และมีลักษณะหรือคุณภาพตามที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกำหนด (ตามบัญชีแนบท้ายประกาศ) ถ้าตรวจพบน้ำมันตามสถานีบริการน้ำมันที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามประกาศกรมธุรกิจพลังงาน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่ามีการนำน้ำมันชนิดอื่นหรือสารเคมีอื่นมาปลอมปนลงในน้ำมัน เพื่อประโยชน์ในทางการค้าซึ่งนอกจากจะมีความผิดตาม ม.25 ว.3 แห่ง พรบ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 แล้ว กรณีนี้ถือว่าน้ำมันดังกล่าวเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นใหม่ ตาม ม.4 แห่ง พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 และยังไม่ได้เสียภาษี ดังนั้น ผู้ถือครองจึงมีความผิด ตาม ม.161 (1) หรือ 162 (1) แห่ง พรบ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พรบ.ภาษีสรรพสามิต 2527 อัตราภาษี 1.น้ำมันเบนซิล อัตราลิตรละ 7.00 บาท 2.น้ำมันแก๊สโซฮอลอี 10 อัตราลิตรละ 6.30 บาท อี 20 อัตราลิตรละ 5.60 บาท อี 55 อัตราลิตรละ 1.05 บาท 3. น้ำมันดีเซล (กำมะถันเกิน 0.005 กรัม) อัตราลิตรละ 5.31 บาท มาตรา 4 “ผลิต” หมายความว่า มาตรา 161 (1) มาตรา 162 (1)

มูลเหตุจูงใจในการกระทำผิด โครงสร้างภาษีน้ำมันตามมติคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน หน่วย:บาท/ลิตร ULG E10,95 E10,91 E20 E 85 HSD ราคา ณ โรงกลั่น 23.8131 24.5265 24.3067 25.1530 28.3665 25.0706 ภาษีสรรพสามิต 7.0000 6.3000 5.6000 1.0500 0.0050 ภาษีเทศบาล 0.7000 0.6300 0.5600 0.1050 0.0005 กองทุนน้ำมันฯ 10.0000 3.5000 1.4000 -1.3000 -11.4000 1.3000 กองทุนอนุรักษ์ฯ 0.2500 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.9234 2.4645 2.3021 2.1184 1.2860 1.8638 ราคาขายส่ง 44.6865 37.6710 35.1888 32.3815 19.6575 28.4899 ค่าการตลาด 2.0219 1.5505 1.5806 1.8678 3.2921 1.4020 ภาษีค่าการตลาด 0.1415 0.1085 0.1106 0.1307 0.2304 0.0981 ราคาขายปลีก 46.85 39.33 36.88 34.38 23.18 29.99

ขั้นตอนการจับกุมน้ำมัน การสืบสวนหาข้อมูล มี 2 ช่องทาง ได้จากแหล่งข่าว ได้จากการออกหาเก็บตัวอย่างน้ำมันตามปั๊มน้ำมันต่างๆ ส่งให้กรมฯ / รถโมบายแล๊ปตรวจ ผลตรวจเป็นไปตามที่ กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ผลตรวจไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ยกเลิก ขอรถโมบายแล๊ป โดยเร่งด่วน เก็บตัวอย่างซ้ำเมื่อโมบายมาถึง ผลตรวจได้มาตรฐาน ผลตรวจไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานกำหนด ยกเลิก นำรถโมบายแล๊ป เข้าตรวจที่ปั๊มน้ำมัน

ผลการตรวจต่อหน้าเจ้าของปั๊ม การนำรถโมบายแล๊ปเข้าตรวจที่ปั๊มน้ำมัน มีขั้นตอนดังนี้ แสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานสรรพสามิตเพื่อขอตรวจสอบคุณภาพน้ำมัน (เจ้าหน้าที่ควรแต่งเครื่องแบบ) เก็บตัวอย่างน้ำมันที่หัวจ่ายทุกหัวจ่ายต่อหน้าเจ้าของปั๊ม นำน้ำมันที่เก็บเข้าทำการตรวจสอบคุณภาพกับรถโมบายแล๊ปต่อหน้าเจ้าของปั๊ม ผลการตรวจต่อหน้าเจ้าของปั๊ม ถ้าได้มาตรฐาน ผลการตรวจได้ผ่านให้ดำเนินการดังนี้ อธิบายให้เจ้าของปั๊มได้รับทราบถึงผลของการตรวจว่าเป็นน้ำมันปลอมปน โดยอาจเอาน้ำมันปั๊มอื่น หรือสารเคมีอื่นมาผสม ถือว่าเป็นการผลิตสินค้าขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะต้องเสียภาษีสรรพสามิต ผู้มีไว้ในครอบครองจะมีความผิดข้อหา มีไว้ในครอบครองซึ่งสินค้าโดยรู้ว่าเป็นสินค้าที่มิได้เสียภาษี (ม.161(1)) หรือมีไว้เพื่อขายโดยรู้ว่าเป็นสินค้าที่มิได้เสียภาษี (162(1)) จะต้องถูกดำเนินคดีโดยเสียภาษี และค่าเปรียบเทียบปรับ ยกเลิก/ขอโทษครับ/ขอบคุณครับ โอกาสหน้าจะมาบริการอีกครับ

ขั้นตอนการดำเนินคดี แจ้งให้ผู้ต้องหาทราบว่ามีทางเลือก 2 ช่องทาง ช่องทางที่ 1 ถ้าผู้ต้องหายินยอมเสียค่าปรับ นำตัวผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวน เพื่อลงบันทึกประจำวัน นำตัวผู้ต้องหามายังสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาเพื่อทำการปรับเปรียบเทียบ / คดีเสร็จสิ้น ช่องทางที่ 2 ถ้าผู้ต้องหาไม่ยอมเสียค่าปรับ จะต้องนำตัวผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวน เพื่อสอบสวน พร้อม 1. บันทึกการจับกุม ส.39 2. บัญชีของกลาง ส.ส2/4 3. ผลการตรวจพิสูจน์ (สสข.) 4. ใบตรวจผลแล๊ป 5. ของกลาง พร้อมซิลให้เรียบร้อยมิดชิด โดยแบ่งเป็น ส่วนที่ 1 ให้พนักงานสอบสวน ส่วนที่ 2 ให้เจ้าพนักงานสรรพสามิต ส่วนที่ 3 ให้เจ้าของปั๊มเก็บไว้ - พนักงานสอบสวนจะดำเนินการสอบสวนเพื่อส่งฟ้องศาลต่อไป