สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
Advertisements

ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
การเจริญเติบโตของพืช
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change) การเกิดภาวะโลกร้อน 1 2 3 ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change) 4 ที่มา: ONEP, 2006

การเกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์: การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซมีเทน: การหมักหรือเน่าเปื่อยของขยะ น้ำเสีย ปศุสัตว์ ก๊าซไนตรัสออกไซด์: การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการเกษตร การเผาไหม้ เชื้อเพลิงฟอสซิล ก๊าซโอโซน: เกิดจากการเพิ่มขึ้นของสารบางชนิด เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ สารฮาโลคาร์บอน ได้แก่ CFCs, HFCs และ PFCs: จากกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม

กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในวงจรคาร์บอนของโลก ป่าไม้ ทั้งเป็นแหล่งดูดซับและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กิจกรรมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การผลิตและการใช้พลังงาน การอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง นับเป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อยก๊าซ CO2 ไฟป่าและการเผาป่าปล่อยก๊าซ CO2 Source: IPCC (2005), ONEP

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประเทศพัฒนาแล้วมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสะสมต่อเนื่องมาจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ประเทศกำลังพัฒนามีการปล่อยเพื่อการพัฒนาประเทศ และเพื่อความอยู่รอดของประชากรในประเทศ

การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากประเทศต่างๆ ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ

ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ในปี 2546 Emission (1000 tons) 56.1% 24.1% นี่คือแผนภูมิแสดงปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในปี 2546 ซึ่งเป็นปีล่าสุดที่ได้มีการรวบรวมไว้โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แผนภูมินี้แสดงให้เห็นว่าภาคพลังงานเป็นภาคที่มีสัดส่วนในการปลดปล่อยสูงที่สุด คือ 56% ภาคเกษตรกรรมที่รวมการปศุสัตว์ไว้ปลดปล่อยร้อยละ 24.1 7.8% 5.4% 6.6% Sources of emission by sector

การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทย ที่มา: National Clean Development Mechanism Study for the Kingdom of Thailand, 2002

การคาดการณ์การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดจากการใช้พลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม ประเทศเศรษฐกิจกำลังเปลี่ยนแปลง (กลุ่มยุโรปตะวันออก) ประเทศอุตสาหกรรม ประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิค IPCC (2005)

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อน การเกษตร ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรชีวภาพ และระบบนิเวศ สุขภาพของมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน และการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อภาคการเกษตร ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดภัยแล้ง น้ำท่วม การรุกของน้ำเค็ม เกิดโรคระบาดของแมลงศัตรูพืชและโรคพืช การแพร่กระจายของวัชพืช การเปลี่ยนแปลงสภาพฝน จะมีผลต่อความชุ่มชื้นในดิน อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ผลผลิตตกต่ำหรือไม่ได้ผลเท่าที่ควร

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อทรัพยากรน้ำ จะมีฝนตกมากขึ้นบางพื้นที่ และลดลงในบางพื้นที่ ส่งผลต่อ ปริมาณน้ำ ระบบนิเวศน้ำจืด และน้ำใต้ดินในระยะยาว ปริมาณน้ำฝนที่เปลี่ยนแปลง จะกระทบต่อการกักเก็บน้ำใน อ่างเก็บน้ำ บ่อน้ำ ปัญหาการขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง นำไปสู่ความขัดแย้งของการจัดสรรน้ำ

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ หากอุณหภูมิเฉลี่ยโลก เพิ่มขึ้นเพียง 1o C อาจมีผลกระทบต่อองค์ประกอบพันธุ์ไม้ในป่า ป่าบางชนิดอาจสูญสลาย ศัตรูพืชคุกคาม และเกิดไฟป่าเพิ่มขึ้น สิ่งมีชีวิตในพื้นที่ระบบนิเวศธรรมชาติ จะเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ และการกระจายตัว พื้นที่ชุ่มน้ำ อาจลดลงเนื่องจากอัตราการระเหยที่เร็วขึ้น จะส่งผลต่อแหล่งอาศัย และขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมและการตั้งถิ่นฐาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง สามารถทำลายโครงสร้างพื้นฐานหรือส่งผลเสียหายต่อการผลิต การเพิ่มของระดับน้ำทะเล พายุ และน้ำท่วม ทำให้ประชาชนต้องอพยพ ส่งผลต่อเนื่องต่อโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ที่ลึกเข้าไป

ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรง เช่น น้ำท่วม พายุระหว่างปี 2493 - 2541 Source: IPCC, 2005 2533 2543 Source: IPCC, 2005

ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อสุขภาพอนามัย อุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น ทำให้เป็นปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับยุงหรือแมลงที่เป็นพาหะนำโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ ระบาดมากขึ้น อากาศที่ร้อนทำให้เกิดมลพิษทางอากาศและทางน้ำสูงขึ้น ทำให้อาหารเน่าเสียง่ายขึ้น ส่งผลให้มีผู้ป่วยด้วยระบบทางเดินอาหารมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศทำให้โอกาสที่จะเกิดคลื่นความร้อนมีสูงขึ้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างฉับพลันโดยเฉพาะกับประชากรในประเทศเขตหนาว

การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน กิจกรรมในครัวเรือนและชีวิตประจำวันที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มา: Australian Greenhouse Office (www.greenhouse.gov.au)

การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน การเดินทางด้วยวิธีต่างๆ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่าไร ปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (kg./cap/km) ที่มา: Australian Greenhouse Office (www.greenhouse.gov.au)